Page 17 -
P. 17

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                                        เกษตร สร้างสรรค์


                                                                                โดย : ดร.อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์
                                                                             ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
                                                                        คณะเกษตร ก�าแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                                             rdianr@ku.ac.th
                                                                      โดย : รองศาสตราจารย์ ดร.จุลภาค คุ้นวงศ์
                                                                               ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร ก�าแพงแสน
                                                                                        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                                           julapark.c@ku.ac.th












          ที่มาและความส�าคัญ                                     เกิดขึ้นได้เองภายใต้สภาวะที่เหมาะสมในระหว่างการ

                                                                 พัฒนาเป็นต้นพืชหรือการใช้สารเคมีเพื่อชักน�าให้เกิด
                 การประยุกต์ใช้วิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ

          เพื่อสร้างสายพันธุ์พืชดับเบิลแฮพลอยด์ (Doubled         การเพิ่มขึ้นของจ�านวนชุดโครโมโซมภายหลังการพัฒนา

          haploid plant) นั้นมีประโยชน์ต่องานวิจัยด้านการ        เป็นต้นแฮพลอยด์ซึ่งมีโครโมโซมเพียงชุดเดียว จึงท�าให้
          ปรับปรุงพันธุ์พืชและงานวิจัยพื้นฐานอื่นๆ เช่น การ      พืชดับเบิลแฮพลอยด์มีคุณสมบัติเป็นสายพันธุ์แท้ที่มี

          สร้างแผนที่ยีน การหาต�าแหน่งของยีนที่สนใจ เป็นต้น      โครโมโซมทั้งสองชุดเหมือนกันทุกประการและสามารถ

          ซึ่งปัจจุบันนี้มีการศึกษาการสร้างพืชดับเบิลแฮพลอยด์    ชักน�าการเกิดต้นได้ในขั้นตอนเดียวในขณะที่การผลิต

          และแฮพลอยด์ได้หลายชนิดอย่างกว้างขวาง ด้วยวิธีการ       ต้นพริกสายพันธุ์แท้โดยทั่วไปจะใช้วิธีการผสมตัวเอง
          เพาะเลี้ยงรังไข่ (0vary or ovary culture) การเพาะ      ประมาณ 6-7 ชั่วอายุ เพื่อให้ได้ต้นพริกที่มีความคงตัว

          เลี้ยงอับละอองเรณู(Anther culture) การเพาะเลี้ยง       ของยีนท�าให้ต้องใช้ระยะเวลา แรงงาน และทรัพยากร

          ไมโครสปอร์ (Microspore culture) ซึ่งขึ้นกับชนิดหรือ    จ�านวนมากเทคโนโลยีการผลิตต้นพืชดับเบิลแฮพลอย
          พันธุกรรมของพืชที่ท�าการศึกษา                          ด์นี้จึงมีประโยชน์อย่างมากต่องานด้านการปรับปรุง

                 พริกดับเบิลแฮพลอยด์นี้มีคุณสมบัติเป็นพืชสาย     พันธุ์พืชเพื่อในการผลิตสายพันธุ์แท้  ซึ่งพริกดับเบิล

          พันธุ์แท้ที่มีความคงตัวของยีนและเกิดจากวิธีการเพาะ     แฮพลอยด์ที่มีลักษณะทางการเกษตรที่ดีสามารถน�าไป

          เลี้ยงอับละอองเรณู โดยการชักน�าการเกิดต้นจากเซลล์      ใช้ประโยชน์ได้โดยตรง หรือใช้เป็นพ่อ-แม่สายพันธุ์แท้ใน
          สืบพันธุ์เพศผู้ที่อยู่ในระยะไมโครสปอร์หรือระยะที่ยัง   การผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 1 ได้โดยตรง รวมทั้งการ

          ไม่พัฒนาเป็นละอองเรณูที่สมบูรณ์ (Microspores or        ศึกษาต�าแหน่งของยีนที่สนใจบนแผนที่โครโมโซมเมื่อมี

          immature pollens) ภายใต้ปัจจัยและสภาวะการ              ขนาดของประชากรพริกดับเบิลแฮพลอยด์ที่ครอบคลุม
          เพาะเลี้ยงที่เหมาะสมท�าให้สามารถเปลี่ยนแปลงกลไก        ทั้งจีโนม นอกจากนี้ ลักษณะดีเด่นที่ถูกควบคุมด้วยยีน

          การพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ให้พัฒนาเป็นต้นพืชได้         ด้อยก็จะสามารถแสดงลักษณะภายนอกให้เห็นได้และ

          โดยผ่านกระบวนการ Gametic embryogenesis ซึ่ง            ข้อดีของประชากรพริกดับเบิลแฮพลอยด์ในการศึกษา
          โดยทั่วไปนั้นเซลล์สืบพันธุ์จะมีจ�านวนโครโมโซมเพียง     ลักษณะที่สนใจอีกประการคือสามารถท�าการทดลอง

          ชุดเดียวหรือเรียกว่าแฮพลอยด์เซลล์ (Haploid cells)      ตรวจสอบซ�้าได้หรือปลูกเปรียบเทียบในสถานที่ปลูก

          แต่เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของโครโมโซมทั้งชุดที่เหมือนกัน   ที่แตกต่างกันได้เพื่อประเมินลักษณะที่สนใจศึกษาได้
          ทุกประการ (Chromosome doubling) ซึ่งอาจจะ              หลายซ�้าเนื่องจากเป็นประชากรพริกสายพันธุ์แท้



                                                                                            มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์  17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22