Page 31 -
P. 31

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                                27



              เนื้อทรายที่ปล่อยสู่ธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า  เพศผู้เต็มวัย: เพศเมียเต็มวัย: วัยรุ่น: ลูกอ่อนในประชากร
              ภูเขียว มีอัตราการเพิ่มเฉลี่ยขึ้น 0.2 หรือร้อยละ 20 ต่อปี    1:6.95: 1.77:1.86: 2.09 มีสัดส่วนเพศเมียเต็มวัยต่อ
                     เมื่อพิจารณาจ�านวนเนื้อทรายที่ปล่อยทั้งหมด   ลูกอ่อน 1: 0.30 อัตราการทดแทนในประชากรละมั่งที่

              78 ตัวตั้งแต่เริ่มโครงการ เปรียบเทียบกับผลจากการ  ปล่อย (recruitment rate) มีค่าร้อยละ 40.65
              ประเมินประชากรในบริเวณพื้นที่ศึกษา ที่มีอยู่อย่างน้อย      ประชากรเนื้อทรายที่ได้จากการศึกษาด้วย
              60 ตัว กับที่กระจายออกไปยังพื้นที่ข้างเคียง รวมกับอัตรา  กล้องดักถ่ายภาพ มีค่า 21 ตัว (SE=6.09) ทุกสมการ
              การทดแทนที่มีค่าร้อยละ 16.53 พบว่าประชากรยังมิได้  ให้ผลประชากรจากข้อมูลภาพระหว่าง 17 – 35 ตัวจาก

              เพิ่มขึ้น หรือลดลงมากนักนับจากปี พ.ศ. 2542 มากนัก   ผลการประเมินในพื้นที่มีค่า อย่างน้อย 60 ตัว ยังไม่
              ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสภาพของพื้นที่ที่เป็นที่ราบระหว่าง  รวมกับจ�านวนที่กระจายออกไปยังพื้นที่อื่น แต่นับ
              หุบห้วยมีอยู่อย่างจ�ากัดจึงอาจจ�ากัดจ�านวนประชากร  ว่ายังคงใกล้เคียงกับที่ปล่อย ซึ่งใกล้เคียงกับจ�านวนที่
              มิให้เพิ่มพูนแบบก้าวกระโดด แม้ว่าปัจจุบันในพื้นที่  ปล่อยนับจากเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2542 ถึง ปี พ.ศ. 2551 ที่

              ไม่ปรากฏรายงานสัตว์กินเนื้อที่ส�าคัญ โดยเฉพาะเสือดาว   ปล่อยรวม 78 ตัว อัตราส่วนเพศในประชากรเนื้อทราย
              เสือโคร่ง และหมาใน สัตว์ที่อาจจับเนื้อทราย และละมั่ง  1:2.48 สัดส่วนโครงสร้างชั้นอายุในประชากร เพศผู้เต็ม
              กินได้แก่ งูเหลือม หรืองูหลาม หรืออาจถูกรบกวนจาก  วัย: เพศเมียเต็มวัย: วัยรุ่น: ลูกอ่อน เป็น 1: 2.48: 0.79:
              สุนัขบ้านและการลักลอบล่า แต่พบน้อยมาก และเช่น  0.44: 0.26 มีสัดส่วนเพศเมียเต็มวัยต่อลูกอ่อนเท่ากับ 1:

              เดียวกันกับการจัดการพื้นที่ส�าหรับละมั่ง การจัดการพื้นที่  0.12 อัตราการทดแทนในประชากร (recruitment rate)
              โดยเน้นตามพื้นที่ราบหุบล�าห้วย ด้วยการเปิดพื้นที่โล่ง  มีค่าร้อยละ 16.56
              ในป่าเพิ่มมากขึ้น การจัดการแหล่งน�้า และแหล่งโป่ง      จ�านวนประชากรละมั่งและเนื้อทรายใน
              ให้กระจายทั่วไปและมีอยู่อย่างตลอดปี เพื่อเพิ่มขนาด  พื้นที่ปล่อยมิได้เพิ่มจ�านวนขึ้นหรือลดลงมากนัก นับ

              พื้นที่อาศัยที่เหมาะสมของเนื้อทรายควรด�าเนินการต่อไป  จากการด�าเนินโครงการระหว่างปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ.
                                                           2551 สาเหตุหลักอาจเนื่องจากสภาพความสามารถใน
                               สรุป                        การรองรับประชากรที่ปัจจุบัน มีเพียงพื้นที่ราบตาม
                                                           หุบห้วย นอกจากนี้อาจเกิดจากการกระจายออกจาก
                     จ�านวนประชากรละมั่งที่ปล่อยสู่ธรรมชาติ  พื้นที่ปล่อย โดยการศึกษานี้ด�าเนินการเฉพาะบริเวณ
              ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเวียงลอที่ได้จากกล้องดักถ่าย  ที่ปล่อยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 40 เฮกแตร์ ยังมิได้มี

              ภาพมีค่า 15 ตัว (SE=1.08) ทุกสมการให้ผลประชากร  การติดตามจ�านวนทั้งหมดที่กระจายออกจากบริเวณที่
              จากข้อมูลภาพระหว่าง 15-22 ตัว จากผลการประเมิน  ปล่อยเป็นระยะทางไกลไปยังพื้นที่ข้างเคียง
              โดยตรงนอกเหนือจากพื้นที่ศึกษามีค่าประมาณ 30 ตัว      การศึกษาครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะ คือ 1) ควร
              ซึ่งใกล้เคียงกับจ�านวนที่ปล่อยนับจากเริ่มต้นในปี พ.ศ.   ติดตามประชากรด้วยการใช้กล้องดักถ่ายภาพต่อไปทั้งนี้

              2542 ถึง ปี พ.ศ. 2551 ที่ปล่อยรวม 25 ตัว สัดส่วนเพศผู้  ควรกระจายกล้องดักถ่ายภาพให้ครอบคลุมพื้นที่ที่ละมั่ง
              เต็มวัย ต่อเพศเมียเต็มวัยในประชากรละมั่ง มีค่า 1:6.95   และเนื้อทรายกระจายไปถึง  โดยให้แต่ละกล้องห่างกัน
              โครงสร้างประชากรละมั่ง เป็นเพศผู้เต็มวัย 22 ภาพ เพศ  ประมาณ 200 เมตร ตามผลการศึกษาการเคลื่อนที่ของ
              เมียเต็มวัย 153 ภาพ   ละมั่งก่อนเต็มวัยรวม 39 ภาพ   เป็น  เนื้อทรายและละมั่งในแต่ละวันโดยประวุธ (2556) ที่

              ละมั่งวัยรุ่น 41 ภาพ ลูกละมั่ง 46 ภาพ คิดเป็นสัดส่วน  มีค่าเฉลี่ย 191.27 เมตร ในละมั่ง และมีค่าเฉลี่ย 163.96
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36