Page 29 -
P. 29
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
25
เนื้อทราย ผลการวิเคราะห์ในช่วง 19 วัน (19 เข้ามาใช้มาก ทั้งยังมีข้อจ�ากัดด้านการจ�าแนกความแตกต่าง
occasions) เป็นจ�านวนเนื้อทรายที่สามารถจ�าแนกได้ ระหว่างตัว จึงเลือกวิเคราะห์ผลที่ได้จากกล้องดักถ่ายภาพ
17 ตัว พบว่าลักษณะประชากรเป็นแบบปิด (Z=-0.56, เพียง 1 ชุด เท่านั้น จากผลการศึกษาจ�านวนประชากร
P=0.28) เนื้อทรายทั้งจากการสังเกตโดยตรง และจากกล้องดัก
สมการที่เหมาะสมส�าหรับการคาดการณ์จ�านวน ถ่ายภาพพบว่าจ�านวนประชากรในพื้นที่ยังไม่เพิ่มขึ้น
ประชากรเนื้อทรายที่ได้คือ M(h) โดยมีค่า criteria สูง หรือลดลงจากเดิมที่ปล่อยไปรวม 78 ตัวมากนัก
ที่สุดเท่ากับ 1.00 (White et al., 1978, Rexstad and
Burnham, 1991) ให้ผลค�านวณจ�านวนประชากรเนื้อทราย สัดส่วนเพศ โครงสร้างชั้นอายุ และการทดแทน
21 ตัว (SE=6.09) เมื่อพิจารณาผลของทุกสมการที่ได้ ในประชากร
พบว่ามีค่าระหว่าง 17 – 35 ตัว (ดู Table 1 และAppendix ละมั่ง จากการจ�าแนกละมั่งเพศผู้เต็มวัย และ
2) อย่างไรก็ตามจากการประเมินในพื้นที่จริงจ�านวนเนื้อ เพศเมียเต็มวัย ในแต่ละวัน ที่บันทึกภาพได้จ�านวน 58
ทรายอาจมีมากกว่าที่ได้จากการตั้งกล้องดักถ่ายภาพ ที่ วัน จากจ�านวนวันตั้งกล้องทั้งหมด 65 วัน จ�านวนตัว
ด�าเนินการเพียง 3 ชุด เท่านั้น ดังนั้นจึงควรขยายพื้นที่ ที่สามารถจ�าแนกได้จากภาพถ่ายแบบสะสม 302 ภาพ
ศึกษาให้ครอบคลุม จากการประเมินจ�านวนประชากรเนื้อ จากจ�านวนภาพทั้งหมด 635 ภาพ พบว่า เป็นละมั่งเพศ
ทรายบริเวณพื้นที่ศึกษาโดยใช้ไฟส่องในเวลากลางคืน ผู้เต็มวัย 22 ภาพ ละมั่งเพศเมียเต็มวัย 153 ภาพ คิดเป็น
พบว่าสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 17 – 20 ตัว รวม อัตราส่วนเพศผู้เต็มวัย ต่อเพศเมียเต็มวัย 1:6.95 มีจ�านวน
จ�านวนจากการประเมินด้วยสายตาในพื้นที่ประมาณ 60 ละมั่งก่อนเต็มวัยรวม 39 ภาพ เป็นเพศผู้ 2 ภาพ เพศเมีย
ตัว และที่กระจายออกไปอาศัยตามชายป่าใกล้กับพื้นที่ 37 ภาพ เป็นละมั่งวัยรุ่น 41 ภาพ ลูกละมั่ง 46 ภาพ คิด
เกษตรกรรมและในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยภูนาง เป็นสัดส่วนเพศผู้เต็มวัย: เพศเมียเต็มวัย: วัยรุ่น: ลูกอ่อน
ห่างออกจากบริเวณที่ตั้งกล้องดักถ่ายภาพประมาณ 42 ในประชากรเท่ากับ 1:6.95: 1.77:1.86: 2.09
กิโลเมตร (วรวิทย์ และคณะ, 2553) แต่การตั้งกล้องดัก มีสัดส่วนเพศเมียเต็มวัยต่อลูกอ่อนเท่ากับ
ถ่ายภาพในการศึกษาครั้งนี้มีข้อจ�ากัดด้านการกระจาย 1: 0.30 อัตราการทดแทนในประชากรละมั่งที่ปล่อย
ของกล้องดักถ่ายภาพที่มุ่งเน้นบริเวณพื้นที่ปล่อย ที่มี (recruitment rate) มีค่าร้อยละ 40.65 ((100(41+46))/
การสร้างแปลงพืชอาหาร ท�าให้ทั้งเนื้อทรายและละมั่ง (22+153+2+37)) โดยไม่รวมอัตราการตาย
Table 2 The accumulative number of the Eld’s deer and the hog deer counted from photos
recored by 3 camera trap sets in Wiang Lor Wildlife Sanctuary, Phayao Province
during August, 2010 and February, 2011.
No. of Accumulative number
Species AM AF SAM SAF J F
photos identified from photos
1 Eld’s deer 635 302 22 153 2 37 41 46
% 100 % 7.28% 50.66% 0.66% 12.25% 13.57% 15.23%
2 Hog deer 1,310 529 106 263 24 60 47 28
% 100 % 20.03% 49.71% 4.54% 11.34% 8.88% 5.29%
Total 1,945 831 128 416 26 97 88 74
Notes:
AM = Adult male SAM = Subadult male J = Juvenile
AF = Adult female SAF = Subadule female F = Fawn