Page 30 -
P. 30

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              26



                     อัตราการทดแทนในประชากรเมื่อพิจารณาจาก  เทือกเขา พื้นที่ที่เหมาะสมอยู่เฉพาะบริเวณรอบที่ปล่อย
              โครงสร้างอายุในประชากร ทั้งละมั่ง ในพื้นที่มีค่าร้อยละ   ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร  จึงเป็น
              40.65 นับเป็นสิ่งปกติที่ปรากฏในประชากรสัตว์พวก  สาเหตุส�าคัญในการจ�ากัดความสามารถในการรองรับ

              กวาง ที่มีศักยภาพสูงในการเพิ่มจ�านวนตามธรรมชาติ   ประชากรละมั่งภายในพื้นที่ ทั้งละมั่งและเนื้อทราย
              โดยอาจมีอัตราการทดแทนในประชากรมากถึงร้อยละ   จึงพบว่ามีการกระจายออกไปอาศัยรอบแนวเขตรักษา
              40 (นริศ, 2543) ผลการศึกษาที่ได้เมื่อเปรียบเทียบกับ  พันธุ์สัตว์ป่าเวียง ซึ่งเป็นพื้นที่ราบแต่ได้ถูกเปลี่ยนเป็น
              อัตราการทดแทนประชากรกวางป่าในเขตรักษาพันธุ์  พื้นที่เกษตรกรรมไปจนหมด ดังนั้นการปรับปรุงถิ่น

              สัตว์ป่าห้วยขาแข้งที่มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 28.17 (รองลาภ,   อาศัยภายในโดยเฉพาะบริเวณที่ปล่อย เพื่อเพิ่มความ
              2547) ขณะที่เก้งมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 22.85 (Sukmasuang,   เหมาะสมทั้งคุณภาพและขนาดพื้นที่ด้วยการเปิดช่อง
              2001) ก็นับว่าสูงมาก                         ว่างในป่าเพื่อขยายพื้นที่โล่งจึงเป็นสิ่งจ�าเป็นส�าหรับ
                     อาจเป็นเพราะในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเวียงลอ  ประชากรละมั่งในพื้นที่

              ไม่มีสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่ ทั้งหมาใน เสือโคร่ง และ     เนื้อทราย พบว่ามีจ�านวนตัวที่สามารถจ�าแนก
              เสือดาว จึงท�าให้ลูกสัตว์ออกมาติดตามแม่มากกว่าที่  จากภาพถ่ายได้แบบสะสม 529 ภาพ เป็นเพศผู้เต็มวัย
              จะหลบซ่อนตัว  โดยสาเหตุการตายของละมั่งและเนื้อ  จ�านวน 106 ภาพ เพศเมียเต็มวัย 263 ภาพ คิดเป็น
              ทรายในพื้นที่นี้อาจเกิดจากสุนัขบ้านที่เข้ามาในพื้นที่   อัตราส่วนเพศในประชากรเนื้อทรายเท่ากับ 1:2.48 เป็น

              การลักลอบล่า แต่พบน้อยมาก นอกจากนี้การไม่เพิ่ม  เนื้อทรายก่อนเต็มวัย 84 ภาพ เป็นเพศผู้ก่อนเต็มวัย 24
              ขึ้นของประชากรละมั่งอาจเกิดจากความสามารถในการ  ภาพ เพศเมียก่อนเต็มวัย 60 ภาพ เป็นเนื้อทรายวัยรุ่น
              รองรับประชากรของพื้นที่มีน้อย ปกติละมั่งชอบอาศัยใน  47 ภาพ และเป็นลูกเนื้อทราย 28 ภาพ  คิดเป็นสัดส่วน
              พื้นที่ที่เป็นทุ่งโล่งในป่าเต็งรัง (Lekagul and McNeely,   โครงสร้างชั้นอายุในประชากร เพศผู้เต็มวัย: เพศเมีย

              1988, Myint et al., 2001, Zeng et al. 2001) แต่พื้นที่  เต็มวัย: วัยรุ่น: ลูกอ่อน เป็น 1: 2.48: 0.79: 0.44: 0.26
              ปล่อยสู่ธรรมชาติ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเวียงลอ ที่มี  พัฒนาวดี (2546) พบว่าเนื้อทรายที่ปล่อยสู่ธรรมชาติ
              ความเหมาะสมเนื่องจากเป็นที่ราบตามหุบเขา หรือตาม  ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว มีสัดส่วนเพศผู้ ต่อเพศ
              หุบล�าห้วย รวมพื้นที่บริเวณที่ตั้งโครงการปล่อยสัตว์ป่า  เมียเท่ากับ 50.5:100 หรือ 1:1.98 ก็นับว่าใกล้เคียงกัน

              คืนสู่ธรรมชาติมีอาณาเขตน้อยกว่า 1 ตารางกิโลเมตร       สัดส่วนเพศเมียเต็มวัยต่อลูกอ่อนในประชากร
              มีสภาพเป็นป่าเบญจพรรณสลับป่าเต็งรังบนเนินเขา   เนื้อทราย 1: 0.12 ซึ่งใกล้เคียงกับของเนื้อทรายที่ปล่อย
              ส่วนพื้นที่ราบที่เป็นถิ่นอาศัยเดิมรอบแนวเขตรักษา  ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียวที่มีค่า 1: 0.16 (พัฒนา
              พันธุ์สัตว์ป่าเวียงลอ ถูกเปลี่ยนเป็นพื้นที่เกษตรกรรม   วดี, 2546) คิดเป็นอัตราการทดแทนใน ในประชากร

              อย่างไรก็ตามจากรายงาน มีการพบทั้งละมั่งและเนื้อทราย  (recruitment rate) มีค่าร้อยละ 16.56 ((100(47+28))/
              กระจายออกทั่วไป โดยเฉพาะตามแนวเขตรักษาพันธุ์  (106+263+24+60)) (Table 2)
              สัตว์ป่าเวียงลอ ฝั่งซ้ายซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 30      เมื่อพิจารณาจากอัตราการทดแทนที่มีค่าร้อยละ
              ตารางกิโลเมตร ซึ่งนอกจากท�าให้ยากในการติดตาม  16.53 นับว่าใกล้เคียงกับผลการศึกษาเนื้อทรายในธรรมชาติ

              ศึกษาจ�านวนประชากรแล้ว ยังชี้ให้เห็นว่าพื้นที่ส�าหรับ  ที่พบว่ามีค่าร้อยละ 13.10 (Dhungel, 1985) จนถึงร้อยละ
              รองรับประชากรสัตว์ทั้ง 2 ชนิดภายในพื้นที่เขตรักษา  20.00 (Shaller, 1967) ในอุทยานแห่งชาติราชจิตวัน
              พันธุ์สัตว์ป่ามีน้อย เนื่องจากพื้นที่ภายในส่วนใหญ่เป็น  ประเทศเนปาล ผลการศึกษาของพัฒนาวดี (2546) พบว่า
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35