Page 36 -
P. 36

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

              32



                                                   บทคัดย่อ


                     ผีเสื้อในประเทศไทยมีความหลากหลายสูงแต่มีการศึกษาในระยะตัวหนอนน้อยมาก งานวิจัยนี้มุ่งเน้น
              การศึกษาชนิดของหนอนผีเสื้อและพืชอาหาร ในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด จังหวัดจันทบุรี เก็บข้อมูลทุกๆ 3 เดือน
              ตั้งแต่เดือนมกราคม-ธันวาคม พ.ศ. 2555  โดยการวางแปลงขนาด 10×10 เมตร จ�านวน 220 แปลง ในพื้นที่ 160 ไร่

              (256,000 ตารางเมตร) แต่ละแปลงห่างกัน 40 เมตร ท�าการเก็บตัวอย่างหนอนผีเสื้อที่พบตั้งแต่ผิวดินจนถึงระดับความ
              สูง 2 เมตร รวมทั้งพืชอาหาร ท�าการเลี้ยงหนอนผีเสื้อในกล่องพลาสติกจนเป็นผีเสื้อตัวเต็มวัย จ�าแนกชนิดผีเสื้อและ
              พืชอาหาร จากผลการศึกษาตัวอย่างหนอนผีเสื้อทั้งหมด 1,884 ตัว สามารถจ�าแนกหนอนผีเสื้อได้ทั้งสิ้น 98 ชนิด 78
              สกุล ใน 23 วงศ์ วงศ์ที่มีความหลากชนิดสูงสุดคือ วงศ์ Noctuidae พบ 9 สกุล 12 ชนิด วงศ์ที่มีความหลากหลายน้อย

              ที่สุดคือ วงศ์ Amathusiidae, Drepanidae, Notodontidae, Hyblaeidae และ Saturniidae ในแต่ละวงศ์พบเพียง 1 สกุล 1
              ชนิด และ พบพืชอาหารของหนอนผีเสื้อที่จ�าแนกได้ทั้งสิ้น 72 ชนิด รวมทั้งพืชอาหารที่ไม่สามารถจ�าแนกได้จ�านวน
              9 รูปแบบสัณฐาน และฤดูฝนมีค่าความหลากหลายของแชนนอนเท่ากับ 3.93 สูงกว่าฤดูแล้งที่มีค่าความหลากหลาย
              ของแชนนอนเท่ากับ 2.16 แต่ในขณะที่ฤดูแล้งมีความชุกชุมสูงกว่าฤดูฝน


              ค�าส�าคัญ: ความหลากหลาย หนอนผีเสื้อ ป่าชุมชน

                               ค�าน�า                      ประกอบกับภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใน

                                                           ปัจจุบันส่งผลให้เกิดการเพิ่มประชากรของแมลงอย่าง
                     ผีเสื้อจัดอยู่ในอันดับเลปิดอปเทอรา (Lepidoptera)
              ทั่วโลกมีการระบุชื่อวิทยาศาสตร์แล้วประมาณ 17,000   รวดเร็วจนบางชนิดอาจกลายเป็นศัตรูพืชที่สร้างปัญหา

              ชนิด (ศานิต, 2546) ในประเทศไทยมีรายงานพบผีเสื้อ  ได้ในอนาคต จึงเป็นที่มาของการศึกษาความหลาก
              กลางคืนแล้ว 2,796 ชนิด จาก 64 วงศ์ (Hutacharern et   หลายของหนอนผีเสื้อในครั้งนี้เพื่อทราบลักษณะของ
              al., 2007) และผีเสื้อกลางวัน 1,291 ชนิด จาก 10 วงศ์   ตัวหนอนผีเสื้อชนิดต่างๆ และพืชอาหารของหนอน

              (Ek-Amnuay, 2006) ในขณะที่การศึกษาในระยะตัว  ผีเสื้อชนิดนั้นๆในพื้นที่โครงการพัฒนาป่าชุมชนบ้าน
              อ่อนนั้น องุ่น (2544) ได้ท�าการส�ารวจและเก็บตัวอย่าง  อ่างเอ็ด (มูลนิธิชัยพัฒนา) ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างพิกัดที่ E
              หนอนผีเสื้อกลางวันและกลางคืนในประเทศไทย พบ   209711-209878 N 1394479-1394485 ลักษณะพื้นที่
              หนอนผีเสื้อที่เลี้ยงจนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัยและจ�าแนก  เดิมเป็นสวนยางพาราที่ถูกปล่อยรกร้างเป็นเวลา 50 ปี
              ชนิดได้ทั้งสิ้น 210 ชนิด จาก 29 วงศ์ และมีการศึกษา  จนสภาพป่ามีการฟื้นตัว มีพันธุ์ไม้ต่างๆ ขึ้นปกคลุม

              วงจรชีวิตของผีเสื้อที่พบในเขตป่าพรุโต๊ะแดง พบว่ามี  จ�านวนมาก มูลนิธิชัยพัฒนาได้รับมอบที่ดินผืนนี้และ
              หนอนผีเสื้อทั้งสิ้น 25 ชนิด จาก 9 วงศ์ (โครงการศูนย์  พัฒนาเป็นป่าชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม
              ศึกษาพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ,   ในการอนุรักษ์และเป็นแหล่งเรียนรู้ โดยแบ่งพื้นที่เป็น

              2553) จะเห็นได้ว่า แม้ผีเสื้อตัวเต็มวัยจะมีความหลาก  แปลงปลูกป่า แปลงเกษตรผสมผสาน แปลงปลูกปาล์ม
              หลายสูง แต่มีข้อมูลเกี่ยวกับตัวหนอนน้อยมาก อีกทั้ง  น�้ามัน แปลงสาธิตระบบวนเกษตร และพื้นที่ป่า
              ในระยะตัวหนอนของผีเสื้อ ยังมีความส�าคัญในทาง
              เศรษฐกิจเนื่องจากบางชนิดจัดเป็นแมลงศัตรูพืชหลัก
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41