Page 37 -
P. 37
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
33
อุปกรณ์และวิธีการ ผลและวิจารณ์
วางแปลงขนาด 10×10 เมตร ในพื้นที่ป่าชุมชน จากการศึกษาพบตัวอย่างหนอนผีเสื้อ ทั้งหมด
บ้านอ่างเอ็ดจ�านวน 220 แปลง ครอบคลุมทุกพื้นที่ 1,884 ตัว สามารถจ�าแนกหนอนผีเสื้อได้ทั้งสิ้น 98 ชนิด
โครงการทั้งหมด 168.25 ไร่ (269,200 ตารางเมตร) โดย 78 สกุล ใน 23 วงศ์ วงศ์ Noctuidae พบมากที่สุด คือ
แต่ละแปลงห่างกัน 40 เมตร ท�าการเก็บตัวอย่างหนอน 9 สกุล 12 ชนิด รองลงมาคือ วงศ์ Geometridae พบ 8
ผีเสื้อทุก 3 เดือนรวม 4 ครั้ง ระหว่าง เดือนมกราคม สกุล 10 ชนิด, วงศ์ Nymphalidae พบ 8 สกุล 9 ชนิด
พ.ศ. 2555 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 โดยจ�าแนก และวงศ์ Hesperiidae พบ 5 สกุล 7 ชนิด วงศ์ที่มีความ
เป็นตัวแทนของฤดูแล้ง 2 ครั้ง ในเดือนมีนาคมและ หลากหลายน้อยที่สุดคือ วงศ์ Amathusiidae, Drepanidae,
Notodontidae, Hyblaeidae และ Saturniidae ในแต่ละ
ธันวาคม ตัวแทนของฤดูฝน 2 ครั้งในเดือนมิถุนายน วงศ์พบเพียง 1 สกุล 1 ชนิด พืชที่เป็นอาหารของหนอน
และกันยายน ออกส�ารวจในช่วงเวลา 9.00-15.00 น. ผีเสื้อพบทั้งสิ้น 72 ชนิด รวมถึงพืชที่ไม่สามารถจ�าแนก
เก็บหนอนผีเสื้อที่พบตั้งแต่ผิวดินจนถึงระดับความสูง ชนิดได้ 9 รูปแบบสัณฐาน (Table 1) ความหลากหลาย
2 เมตรใส่กล่องพลาสติก พร้อมระบุหมายเลขแปลง และความชุกชุมของหนอนผีเสื้อแตกต่างกันระหว่างฤดู
ที่พบและก�าหนดหมายเลขประจ�าตัวหนอน ส่วนพืช ฝนและฤดูแล้ง ในฤดูฝนหนอนผีเสื้อมีความหลากชนิด
อาหารจะท�าการตัดพืชอาหารให้เพียงพอในการเลี้ยง สูงกว่าฤดูแล้ง โดยที่ในฤดูฝนมีค่าความหลากหลายของ
หนอนผีเสื้อจนเป็นตัวเต็มวัย ใส่ในถุงพลาสติกใส แล้ว แชนนอนและค่าความหลากหลายของซิมป์สันเท่ากับ
น�าไปแช่เย็นในถังน�้าแข็งรวมทั้งเก็บพืชอาหารบางส่วน 3.93 และ 0.97 ตามล�าดับ ในขณะที่ฤดูแล้งมีค่าความ
พร้อมทั้ง ดอก ผล เพื่อส่งให้ผู้เชี่ยวชาญท�าการจ�าแนก หลากหลายของแชนนอนและค่าความหลากหลายของ
น�าหนอนที่เก็บได้มาแยกเลี้ยงในกล่องพลาสติกใสขนาด ซิมป์สันเท่ากับ 2.16 และ 0.67 ตามล�าดับ และในฤดู
เส้นผ่านศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร กล่องละ 1 ตัว บันทึก แล้งผีเสื้อบางชนิดมีความชุกชุมสูงกว่าในฤดูฝนโดย
หมายเลขตัวอย่าง และพืชอาหาร บันทึกภาพหนอนทุก พบหนอนผีเสื้อทั้งสิ้น 878 ตัว แต่ในฤดูฝนพบหนอน
ตัว และเลี้ยงในห้องปฏิบัติการจนเป็นตัวเต็มวัย จ�าแนก ผีเสื้อทั้งสิ้น 385 ตัว (Table 2) สองคล้องกับงานวิจัย
ชนิดโดยใช้แนววินิจฉัยของ Robinson et al. (1994), ของ Checa et al. (2009) และ Robinson et al. (2012) ที่
Pinratana (1981), Pinratana (1983), Pinratana (1985), ระบุว่าความหลากหลายและความชุมของผีเสื้อมีความ
Pinratana and Eliot (1992), Pinratana and Eliot (1996), แตกต่างกันตามฤดูกาล โดยจะมีสูงสุดเมื่ออุณหภูมิสูง
Inoue et al. (1997), Kononenko and Pinratana (2005), และปริมาณน�้าฝนปานกลางและความหลากหลายจะ
ต�่าลงเมื่ออุณหภูมิสูงและความชื้นต�่า ในขณะที่ Beck et
Zolotuhin and Pinratana (2005), Schintlmeister and al. (2010) รายงานว่า ความหลากหลายของผีเสื้อกลาง
Pinratana (2007) และ Cerny and Pinratana (2009) คืนมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอย่างมาก แต่ไม่มีความ
ความหลากหลายของหนอนที่พบในช่วงเวลา เกี่ยวข้องกับปริมาณน�้าฝน นอกจากนี้หนอนผีเสื้อบาง
ต่างๆ วิเคราะห์โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของแชน ชนิดมีความได้เปรียบในสภาพแห้งแล้งจึงสามารถเพิ่ม
นอน (Shannon index; H´) ดัชนีความหลากหลายของ จ�านวนประชากรได้มากและกลายกลายเป็นชนิดเด่น
ซิมป์สัน (Simpson’s Diversity index) และดัชนีความ ในฤดูแล้ง เช่น หนอนผีเสื้อมะไฟธรรมดา (Cyclosia
เท่าเทียมของแชนนอน (Shannon evenness index; J´) panthona, Zygaenidae) ซึ่งพบในฤดูแล้งมากถึง 494
วิธีการค�านวณอ้างอิงตาม Magurran (2004) ตัว แต่พบในฤดูฝนเพียง 1 ตัว