Page 210 -
P. 210
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
206
การบุกรุกท�าลายป่าต้นน�้าเพื่อขยายพื้นที่การเกษตรของ ที่มีต่อโครงการพัฒนาชุมชนต้นน�้า และส่วนที่ 4 ปัญหา
ประชาชน ส่งผลต่อการด�ารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ และข้อเสนอแนะในการพัฒนาชุมชนต้นน�้า
มากขึ้น อาทิเช่นปัจจุบันปัญหาการขาดแคลนน�้าเพื่อการ ก่อนเก็บข้อมูลได้ท�าการทดสอบแบบสัมภาษณ์
อุปโภค-บริโภคในฤดูแล้ง ปัญหาอุทกภัยในฤดูฝน ปัญหา กับกลุ่มตัวอย่างในท้องที่บ้านห้วยเสือ หมู่ที่ 1 ต�าบล
ตะกอนดินทับถมในแม่น�้าล�าธารและแหล่งน�้า เป็นต้น ชะแล อ�าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี จ�านวน 30
เพื่อจัดการกับปัญหาดังกล่าว หน่วยงานที่ ชุดเพื่อตรวจสอบความเชื่อมั่น (reliability) ซึ่งได้ค่า
เกี่ยวข้องได้ริเริ่มและด�าเนินงานพัฒนาด้านทรัพยากร สัมประสิทธิ์อัลฟ่า (coefficient a ) เท่ากับ 0.946
ป่าไม้และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่มีความเปราะบาง โดย
เฉพาะพื้นที่ต้นน�้าที่มีประชาชนอาศัยและท�ามาหากินอยู่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
มีหลากหลายโครงการ ท�าความร่วมมือจากประชาชนใน กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชน
ท้องถิ่นเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ในการศึกษามุ่งส�ารวจ ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มน�้าสาขาแควน้อยตอนบน ที่มี
ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อโครงการพัฒนา โครงการพัฒนาชุมชนต้นน�้า จ�านวน 3 โครงการ ประกอบ
ชุมชนต้นน�้า เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลส�าหรับการปรับปรุง ด้วย โครงการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาตรการ กลยุทธ์ ตลอดจนแผนการปฏิบัติงานของ โครงการส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาและอนุรักษ์แหล่ง ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (สสอ.) และโครงการจัดการที่ดินป่าไม้
ต้นน�้าล�าธาร ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ จ�านวน 3 หมู่บ้าน รวม 1,411 ครัวเรือน ค�านวณขนาด
ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป ของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Yamane (1973) ได้
ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส�ารวจ เท่ากับ 313 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 22 ของครัวเรือน
ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการ ทั้งหมด จากนั้น กระจายสัดส่วนจ�านวนครัวเรือน
ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน�้าสาขาแควน้อยตอนบน ตัวอย่างไปตามหมู่บ้านต่างๆ โดยใช้สูตรกระจายตาม
จังหวัดกาญจนบุรี และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อระดับ สัดส่วนของสุบงกช (2526) ดังนี้ บ้านห้วยกบ บ้านเวียคะดี้
ความพึงพอใจของประชาชน และบ้านประไรโหนก จ�านวน 67, 211 และ 25 ครัวเรือน
โดยมีสมมติฐานการวิจัย คือ ประชาชนที่มี ตัวอย่าง
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน
อาชีพหลัก รายได้รวมเฉลี่ยต่อปีการถือครองที่ดิน และ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ ที่ต่างกันมี ใช้วิธีตรวจเอกสารเก็บข้อมูลทุติยภูมิ (secondary
ความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ data) เกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และข้อมูลเชิง
แตกต่างกัน พื้นที่ จากเอกสารงานวิจัย และโครงการพัฒนาของกรม
อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
อุปกรณ์และวิธีการ ใช้วิธีการสัมภาษณ์ตัวแทนครัวเรือนด้วยแบบ
สัมภาษณ์ที่สร้างขึ้น เพื่อรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ (primary
การสร้างแบบสัมภาษณ์ data) กับประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหรือตัวแทน
แบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูล ครัวเรือน เพื่อส�ารวจความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมของ
ที่ต้องการตอบวัตถุประสงค์การศึกษา แบ่งออกเป็น 4 ส่วน โครงการต่างๆ ที่ด�าเนินการในพื้นที่ศึกษา ประกอบด้วย
คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานด้านเศรษฐกิจและสังคม โครงการการฟื้นฟูสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 2 การรับรู้เกี่ยวกับโครงการพัฒนาชุมชนต้นน�้า และ โครงการส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน
การเข้าร่วมกิจกรรมโครงการฯ ส่วนที่ 3 ความพึงพอใจ ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (สสอ.) และโครงการจัดการที่ดิน