Page 211 -
P. 211

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                                                                               207



              ป่าไม้ เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือน     ระดับคะแนน 2.61 – 3.40 ระดับความพึง
              ธันวาคม พ.ศ. 2555                            พอใจ ปานกลาง
                                                                  ระดับคะแนน 3.41 – 4.20 ระดับความพึง
              การวิเคราะห์ข้อมูล                           พอใจ มาก

                     ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive      ระดับคะแนน 4.21 – 5.00 ระดับความพึง
              analysis) ส�าหรับข้อมูลพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจและ  พอใจ มากที่สุด
              สังคม โดยน�าเสนอในรูปตารางและค่าสถิติอย่างง่าย
                     จากข้อค�าถามในส่วนของการรับรู้เกี่ยวกับ      ใช้วิธีวิเคราะห์ค่าสถิติ t-test กับตัวแปรอิสระ
              โครงการพัฒนาชุมชนต้นน�้า และ การเข้าร่วมกิจกรรม  ที่แบ่งออกเป็น  2  กลุ่ม และค่าสถิติ F-test กับตัวแปร
              โครงการฯ จ�านวน 17 ข้อ (17 คะแนน) สามารถแบ่ง  อิสระมีมากกว่า 2 กลุ่ม ก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ
              ระดับการรับรู้เกี่ยวกับโครงการพัฒนาชุมชนต้นน�้า แบ่ง  0.05 ส�าหรับหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความพึง

              ออกเป็น 3 ระดับ โดยค�านวณความกว้างของอันตรภาค  พอใจต่อการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้เพื่อพัฒนา
              ชั้นของคะแนน ดังนี้                          ชุมชนต้นน�้า กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องของกลุ่มตัวอย่างที่

                     อันตรภาคชั้น  =   คะแนนสูง-คะแนนต�่า    ให้สัมภาษณ์
                                        จ�านวนชั้น
                                    17 - 1                             ผลและวิจารณ์
                                 =    3

                                 =  5.33                   ข้อมูลพื้นฐาน

                                                                  ข้อมูลพื้นฐานด้านเศรษฐกิจและสังคมของ
                     ระดับคะแนน 1.00 – 6.33 ระดับการรับรู้  ราษฎร พบว่า กลุ่มตัวอย่างซึ่งมีอายุเฉลี่ย 43 ปี อาศัย
              ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ น้อย          อยู่ในชุมชนเฉลี่ย 22 ปี ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 57.5) เป็น
                     ระดับคะแนน 6.34 – 11.66  ระดับการรับรู้  ชาย ร้อยละ 76.4 ย้ายถิ่นฐานมาจากท้องที่อื่นๆ รวมถึง
              ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ ปานกลาง       ประเทศเพื่อนบ้าน ร้อยละ 31.8 มีสาเหตุของการย้าย
                     ระดับคะแนน 11.67 – 17.00 ระดับการรับรู้  ถิ่นฐานเพื่อหาที่ท�ากินแห่งใหม่ หนึ่งในสาม (ร้อยละ
              ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ มาก           32.9) ไม่ได้เรียนหนังสือ และร้อยละ 41.9 จบแค่ระดับ

                       ส่วนระดับความพึงพอใจของประชาชนที่   ประถมศึกษา เกือบครึ่ง (ร้อยละ 45.0) ไม่มีที่ดินท�ากิน
              มีต่อโครงการต่างๆ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ โดยค�านวณ  เป็นของตนเอง ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 42.2) มีอาชีพรับจ้าง
              ความกว้างของอันตรภาคชั้นของคะแนน ดังนี้      ทั่วไป และร้อยละ 39.6 มีอาชีพท�าการเกษตร (ปลูก

                                    คะแนนสูง-คะแนนต�่า     พืชและเลี้ยงสัตว์) มากกว่าสามในสี่มีรายได้น้อยกว่า
                     อันตรภาคชั้น  =                       100,000 บาทต่อครัวเรือนต่อปี  (Table 1)
                                        จ�านวนชั้น

                                    5 - 1
                                 =   5

                                 =  0.8

                     ระดับคะแนน 1.00 – 1.80 ไม่พึงพอใจ
                     ระดับคะแนน 1.81 – 2.60 ระดับความพึง
              พอใจ น้อย
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216