Page 205 -
P. 205
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
201
Table 1 Coefficient of regression equation presenting the relationship between number of
visiting and variable.
Independent variable Coefficient t Sig.
constant 10.439 17.277 0.000 *
Tc i -0.003 -8.136 0.000 *
A i -0.056 -2.561 0.011 *
I i -8.386E-5 -3.042 0.003 *
2
2
F = 53.750 Sig. = 0.000 * R = 0.331 Adj R = 0.325
Remark: * Significance at the level of 0.05
จาก Table 1 แทนค่าสัมประสิทธิ์ที่ได้ ดังสมการ
Vi = 10.439 - 0.003Tci - 0.056Ai - 0.00008386Ii (5)
เมื่อพิจารณาค่าสถิติทดสอบ F พบว่า มีค่า ผู้บริโภค ซึ่งสามารถหาได้จากพื้นที่ใต้เส้นอุปสงค์ใน
เท่ากับ 53.750 ซึ่งมีนัยส�าคัญทางสถิติ หมายความว่า การเดินทางมาเที่ยวอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย โดยใช้
ตัวแปรอิสระในสมการสามารถใช้พยากรณ์ตัวแปรตาม สมการจากผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่า
ได้ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จากผลการวิเคราะห์ ใช้จ่ายในการท่องเที่ยวทั้งหมดของบุคคล (Tc ) กับ
i
พบว่า ตัวแปรค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว อายุ และรายได้ จ�านวนครั้งของการมาเที่ยวอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย
ของนักท่องเที่ยว มีความสัมพันธ์แบบผกผันกับจ�านวน (V) ดังสมการ (5)
ครั้งของการมาท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย หาก i ค�านวณหาค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวสูงสุด
ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว เพิ่มขึ้นจะส่งผลให้จ�านวน (choke price) ของกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยว ที่ท�าให้
ครั้งในการมาเที่ยวอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัยลดลง นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัยไม่
ส�าหรับอายุของนักท่องเที่ยว พบว่า ถ้าอายุของนักท่องเที่ยว เดินทางมาใช้บริการ มีค่าเท่ากับ 2,230.90 บาท
เพิ่มขึ้นจะท�าให้จ�านวนครั้งในการมาเที่ยวลดลง อาจ ค�านวณหาจ�านวนครั้งในการเดินทางมาเที่ยว
เนื่องจากผู้ที่มีอายุมากขึ้นจะมีภาระหน้าที่การงานและ
ครอบครัวที่ต้องรับผิดชอบมากขึ้น ท�าให้ไม่มีเวลาว่าง อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย โดยแทนค่าใช้จ่ายในการ
ส�าหรับการท�ากิจกรรมนันทนาการ และอุทยานแห่งชาติ ท่องเที่ยวของบุคคล ด้วยค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว
เวียงโกศัยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ เช่น ของนักท่องเที่ยวเฉลี่ยของบุคคล จ�านวน 330 ตัวอย่าง
น�้าตก ป่าไม้ จึงเหมาะสมกับนักท่องเที่ยวที่เป็นวัยรุ่นที่ มีค่าเท่ากับ 913.07 บาท แทนค่าอายุเฉลี่ยของนักท่อง
ชอบการท่องเที่ยวแบบผาดโผน ท้าทายมากกว่าผู้ที่อายุ เที่ยว มีค่าเท่ากับ 29.36 ปี และรายได้เฉลี่ย มีค่าเท่ากับ
มาก ส�าหรับรายได้ของนักท่องเที่ยว พบว่า ถ้ารายได้ของ 10,249.42 บาท ได้ V เท่ากับ 5.19 ครั้งต่อปี
i
นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น จะท�าให้จ�านวนครั้งในการมาท่องเที่ยว น�าสมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวน
ลดลง อาจเป็นเพราะผู้ที่มีรายได้สูงขึ้นจะมีโอกาสเลือก ครั้งของการมาท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย (V)
i
ท�ากิจกรรมนันทนาการที่ตนเองสนใจได้มากขึ้น กับตัวแปรค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวของบุคคล (Tc)
i
2. การประเมินมูลค่าด้านนันทนาการของ อายุของบุคคล (A) รายได้ของบุคคล (I) มาค�านวณ
i
i
อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัยด้วยวิธีวิเคราะห์มูลค่าด้าน ส่วนเกินของผู้บริโภคทั้งหมด (Consumer Surplus :
นันทนาการของแหล่งนันทนาการโดยใช้ค่าใช้จ่ายในการ CS) โดยท�าการหาพื้นที่ใต้เส้นอุปสงค์ด้วยวิธีปริพันธ์ ดัง
เดินทางระดับระดับบุคคล (ITCM) โดยการหาส่วนเกิน สมการ (2)