Page 26 -
P. 26

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              24                         Thai J. For. 31 (1) :20-25(2012)



              การใชนํ้าของไมยูคาลิปตัส                   (Figure 1)  ซึ่งมีลักษณะคลายคลึงกับไมยูคาลิปตัสที่
                     การใชนํ้าในรอบวันของไมยูคาลิปตัสที่ปลูก  ปลูกในสวนปา (ณัฐวุฒิ, 2548) และเมื่อเปรียบเทียบ
              รวมกับมันสําปะหลัง พบวามีการใชนํ้าตั้งแตเวลา  การใชนํ้าในรอบปของไมยูคาลิปตัสสายตน K7 และ
              ประมาณ 6.00-19.00 นาฬกา ซึ่งมีแนวโนมการใชนํ้าสูง  K51 พบวามีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทาง
              ในชวงเวลาใกลเที่ยงและบาย แลวคอยๆลดลงในตอน  สถิติ (P>0.05) โดยมีการใชนํ้าในรอบปเทากับ 2,008.68

              เย็นและตํ่าสุดในเวลากลางคืน ซึ่งการแปรผันของการ  และ 1,519.57 ลิตรตอตนตอป ตามลําดับ (Table 3) โดย
              ใชนํ้าจะมีคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในตอนเชาและมีคา  ทั่วไปการใชนํ้าของตนไมจะมีการแปรผันไปตามรอบ
              สูงสุดในชวงบาย ประมาณ 13.00-14.00 นาฟกา ซึ่งมี  วันและรอบเดือน ซึ่งจะตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง
              ลักษณะคลายกับไมยูคาลิปตัสที่ปลูกในสวนปา   ของปจจัยสิ่งแวดลอม อันไดแก อุณหภูมิ แสง ปริมาณ
              (ณัฐวุฒิ, 2548) หรือไมชนิดอื่น เชน ไมสัก (คมสัน,   นํ้าใตดิน ลมและความชื้นในอากาศ โดยเฉพาะความ
              2543) ไมยูคาลิปตัส สายตน K7 และ K51 เพิ่มขึ้นเมื่อ  เขมแสงและความแตกตางระหวางความดันไอระหวาง
              ตนไมมีการเติบโตเพิ่มขึ้นหรือมีพื้นที่กระพี้เพิ่มขึ้น   ใบกับอากาศ (vapor pressure decifit หรือ VPD )
              (รุงเรือง, 2537) โดยการใชนํ้ามีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นใน  (Kozlowski and Pallardy, 1997) โดยปจจัยแสงและ
              ชวงเดือนพฤษภาคม – กันยายน ซึ่งเปนชวงฤดูฝน ดิน  ความแตกตางระหวางความดันไอนํ้าระหวางใบ

              มีความชื้นสูง จึงมีการใชนํ้ามากในชวงนี้ แตพอเขาสู  กับอากาศเปนปจจัยหลักที่มีผลตอการใชนํ้าของ
              เดือนมกราคม-มีนาคม การใชนํ้าจะมีแนวโนมลดลง   ไมยูคาลิปตัส (Yin et al., 2004)

                                Water use (liter .day  -1 )










                                Water use (liter .day  -1 )









                Figure 1  Annual water use of 2-year-old eucalypt, K7 and K51 clones planted as
                           intercropping with cassava.

              ประสิทธิภาพการใชนํ้า                        ตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) โดยมีคา
                     ประสิทธิภาพการใชนํ้าในทางดานเศรษฐกิจ   เทากับ 6.42 และ 7.18 กรัมตอลิตร ตามลําดับ (Table 3)
              (WUEWS) ของไมยูคาลิปตัส สายตน K7 และ K51 ที่  ซึ่งสายตน K7 และ K51 ที่ปลูกรวมกับมันสําปะหลังมี
              ปลูกรวมกับมันสําปะหลัง พบวามีความแตกตางกัน  ประสิทธิภาพการใชนํ้าทางดานเศรษฐกิจและทางดาน

              อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) โดยมีคาเทากับ   ชีววิทยามากกวาไมยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส ที่ปลูก
              3.52 และ 3.91 กรัมตอลิตร ตามลําดับ สวนประสิทธิภาพ  แบบสวนปาเชิงพาณิชย ในพื้นที่ที่เคยปลูกไมยูคาลิปตัส
                                                           มากอน (re-plantation) โดยมีคาเทากับ 5.02 กรัมตอลิตร
              การใชนํ้าทางดานชีววิทยา (WUEWT) พบวามีความแตก
                                                           (ณัฐวุฒิ, 2548)
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31