Page 23 -
P. 23

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                       วารสารวนศาสตร 31 (1) : 20-25 (2555)                      21
                                                      ์



                     ผลการศึกษาพบวา การใชนํ้าของไมยูคาลิปตัส มีการแปรผันไปตามรอบวันโดยการใชนํ้าสูงขึ้นในชวงเชา
              และสูงสุดในเวลาเที่ยงจนถึงบาย หลังจากนั้นการใชนํ้าจะลดลงในชวงเย็นและตํ่าสุดในเวลากลางคืน การใชนํ้าในรอบ
              ปของยูคาลิปตัสมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเมื่อตนไมมีการเติบโตเพิ่มขึ้น โดยยูคาลิปตัสที่อายุ 2 ป มีการใชนํ้ามากในชวงเดือน

              พฤษภาคม - กันยายน และมีการใชนํ้านอยในชวงเดือนมกราคม - มีนาคม สําหรับการใชนํ้าในรอบปของสายตน K7
              และ K51 พบวามีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) สวนประสิทธิภาพการใชนํ้า สายตน K51 มี
              ประสิทธิภาพการใชนํ้าทางดานเศรษฐกิจ (WUEWS) และทางดานชีววิทยา (WUEWT) มากกวาสายตน K7 โดยมีคา
              เทากับ 3.91 และ 7.18 กรัมตอลิตร ตามลําดับ


              คําสําคัญ: การใชนํ้า  ประสิทธิภาพการใชนํ้า  ยูคาลิปตัส  มันสําปะหลัง  จังหวัดสระแกว


                               คํานํา                      เปนขอมูลพื้นฐานในการตัดสินใจปลูกไมยูคาลิปตัส
                                                           รวมกับมันสําปะหลัง และเลือกสายตนยูคาลิปตัสที่มี

                     ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมมีการ     ประสิทธิภาพการใชนํ้าสูงสุด
              ปลูกพืชเกษตรหลายชนิด เชน ขาว ขาวโพด ออยและ
              มันสําปะหลัง เปนตน ซึ่งเปนการปลูกแบบพืชเชิงเดี่ยว   อุปกรณและวิธีการ
              และมักจะมีปญหาในปที่มีผลผลิตลนตลาด  ทําใหราคา  พื้นที่ศึกษา
              ของผลผลิตตกตํ่าหรือบางครั้งเกิดการเปลี่ยนแปลง       ศึกษาการใชนํ้าของไมยูคาลิปตัสในพื้นที่
              ของบรรยากาศ โดยอาจทําใหเกิดฝนแลงหรือนํ้าทวม  ของเกษตรกร ในตําบลหนองตะเคียนบอน อําเภอ
              ซึ่งทําใหผลผลิตเสียหาย ดังนั้น จึงมีการปลูกพืชแบบ  วัฒนานคร จังหวัดสระแกว โดยทําการศึกษาไม

              ผสมผสาน ระหวางพืชเกษตรกับไมโตเร็ว เชน ไม  ยูคาลิปตัส สายตน K7 ซึ่งพัฒนาพันธุจากลูกผสม
              กระถินเทพาและยูคาลิปตัส เปนตน เพื่อเปนการเพิ่ม  ระหวางยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส (Eucalyptus
              รายไดและลดปญหาราคาพืชเกษตรตกตํ่า กอปรกับใน  camaldulensis) และยูคาลิปตัส ดีกลุปตา (E. deglupta)
              ปจจุบันความตองการใชไมสูงขึ้น เพื่อนําไมมาใชเปน  และสายตน K51 ที่พัฒนาพันธุจากลูกผสมระหวาง
              ไมแปรรูป เฟอรนิเจอร วัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรม  ยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส ที่ปลูกในประเทศไทย
              เยื่อและกระดาษ ฯลฯ ดังนั้น การปลูกไมโตเร็ว เชน   (กองคุมครองพันธุพืช, 2549) ซึ่งปลูกดวยระยะ 2x3 เมตร
              ไมยูคาลิปตัส จึงเปนอีกแนวทางหนึ่งในการแกปญหา  จํานวน 3 แถว ในแปลงที่ปลูกควบกับมันสําปะหลัง
              การขาดแคลนไมในประเทศ เนื่องจากเปนไมที่โตเร็ว   เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย (sandy loam)
              ขึ้นไดแทบทุกพื้นที่ของประเทศ สามารถเติบโตไดใน  การเก็บขอมูล

              ดินเกือบทุกสภาพ ทนทานตอความแหงแลงและสภาพ         เก็บขอมูลการเติบโตของไมยูคาลิปตัส สาย
              ดินเค็ม ยูคาลิปตัสจึงเปนชนิดไมที่เกษตรกรสนใจนิยม  ตน K7 และ K51 สายตนละ 3 ตน ทําการวัดการเติบโต
              ปลูก เพื่อใชในครัวเรือนและยังเปนรายไดเสริมแก  ดานขนาดเสนผานศูนยกลางเพียงอก (DBH) ความสูง
              เกษตรกร  อยางไรก็ตามการปลูกไมยูคาลิปตัส ยัง  ทั้งหมด (H) ดวยไมวัดความสูง เก็บขอมูลของตนไม
              มีขอถกเถียงกันในดานผลกระทบตอสิ่งแวดลอม    เมื่ออายุ 1-2 ป และทําการประมาณผลผลิตมวลชีวภาพ
              เชน การทําใหดินเสื่อม การใชนํ้าและสารอาหารมาก   ของลําตน (WS) กิ่ง (WB) ใบ (WL) และผลผลิตมวล
              ซึ่งทําใหเกษตรกรไมเห็นดวยกับการปลูกไมยูคา  ชีวภาพเหนือพื้นดินรวม (WT) ของไมยูคาลิปตัส ที่
              ลิปตัส โดยเฉพาะการปลูกควบกับพืชเกษตร ดังนั้น  อายุ 2 ป โดยใชสมการความสัมพันธในรูป allometric
              จึงตองมีการศึกษาการใชนํ้าของไมยูคาลิปตัสเพื่อ  relation คือ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28