Page 30 -
P. 30
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
28 Thai J. For. 31 (1) : 26-37 (2012)
allometric equation ในรูปของสมการยกกําลัง (Power equation : Y = aX ) สําหรับการทดแทนของพรรณไมในสวน
b
ปาสนสามใบ โดยการคํานวณคาความถี่ของการพบ (Frequency) ความหนาแนน (Density) ความเดน (Dominance)
ดัชนีความสําคัญ (Important value index, IVI) ความคลายคลึงของสังคมพืช (Similarity) และดัชนีความหลากชนิด
(Species diversity index) โดยสมการของ Shannon-Wiener function (Krebs, 1985) พืชพื้นลางไดจากการนับจํานวน
กลาไมและพืชพื้นลางแตละชนิดในแปลงขนาด 5 x 5 ตารางเมตร จํานวน 2 แปลง ที่วางทแยงตรงมุมกลางแปลงใหญ
Figure 1 The location of study areas.
ความถี่ของพืช ก. = จํานวนแปลงที่พบพืชชนิด ก. x 100
(frequency) จํานวนแปลงสุมตัวอยางทั้งหมด
ความถี่สัมพัทธ = ความถี่ของพืชชนิด ก. x 100
(relative frequency) ผลรวมของคาความถี่ของพืชทุกชนิด
ความหนาแนนของพืช ก. = จํานวนตนทั้งหมดของพืชชนิด ก. (ตนตอแปลง)
(density) จํานวนแปลงสุมตัวอยางทั้งหมด
ความหนาแนนสัมพัทธ = จํานวนตนทั้งหมดของพืชชนิด ก. x 100
(relative density) จํานวนตนทั้งหมดของพืชทุกชนิด
ความเดนสัมพัทธ = พื้นที่หนาตัดรวมของลําตนพันธุไม ก. x 100
(relative dominance) ผลรวมของพื้นที่หนาตัดของลําตนของพันธุไมทุกชนิด
ดัชนีความสําคัญทางนิเวศ (IVI) = ความถี่สัมพัทธ + ความหนาแนนสัมพัทธ + ความเดนสัมพัทธ
s
ดัชนีความหลากชนิด (H) = - (pi) (log pi)
2
i 1
เมื่อ H = ดัชนีความหลากชนิด (species diversityindex)
S = จํานวนชนิดของพันธุไมทั้งหมดในแปลงตัวอยาง
pi = สัดสวนจํานวนตนของพืชชนิด i ตอจํานวนตนไมทั้งหมด