Page 279 -
P. 279

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


           260       Humanities Journal Vol.24 No.2 (July-December 2017)


                   ตัวบ่งชี้ทางภาษาแสดงความลังเลไม่มั่นใจ:

                                                                   
              ลักษณะทางภาษาที่ใช้จ าแนกค าให้การจริงและเท็จ


                                                                       
                                                         ภัทณิดา โสดาบัน
                                                                      
                                                     วิโรจน์ อรุณมานะกุล



          บทคัดย่อ


                 มีความเชื่อว่าเราสามารถจ าแนกคนที่พูดความจริงกับคนที่พูดเท็จออกจากกัน
          ได้ด้วยการสังเกตอากัปกิริยาและภาษาที่ใช้ได้ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
          และยืนยันว่า ตัวบ่งชี้ทางภาษาแสดงความลังเลไม่มั่นใจสามารถใช้จ าแนกค าให้การจริง

          ออกจากค าให้การเท็จได้ โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้ผู้บอกภาษาจ านวน 60 คน ทั้งหมดจะ
          ได้ชมฉากฆาตกรรมฉากหนึ่ง จากนั้นจะได้รับค าสั่งให้ให้การตามสิ่งที่ได้เห็นในฐานะ
          ประจักษ์พยานทั้งที่เป็นจริงและเท็จ จากนั้นจะนับตัวบ่งชี้ทางภาษาแสดงความลังเล
          ไม่มั่นใจและน ามาวิเคราะห์เปรียบเทียบความถี่การปรากฏ ซึ่งพบว่าค าให้การจริง



                   บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษาลักษณ์ทางภาษาและ
          รูปแบบของค าให้การจริงและค าให้การเท็จในภาษาไทย” ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการ
          พัฒนาก าลังคนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ประจ าปี 2553-2554 ของส านักงาน
          คณะกรรมการการอุดมศึกษาและทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษก
          สมโภช รุ่นที่ 28/2558
                   นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

          มหาวิทยาลัย ติดต่อได้ที่: pattanida_s@hotmail.com
                    รองศาสตราจารย์ประจ าภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
          จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ติดต่อได้ที่: awirote@gmail.com
   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284