Page 28 -
P. 28

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                                           17

                                                   สรุปและข้อเสนอแนะ

               สรุปผลการศึกษา


                     การศึกษาความหลากชนิดของสัตว์สะเทินน้้าสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลานในอ้าเภอบางสะพาน จังหวัด
               ประจวบคีรีขันธ์ พบสัตว์สะเทินน้้าสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานรวม 2 อันดับ 18 วงศ์ 36 สกุล 49 ชนิด แบ่งเป็นสัตว์
               สะเทินน้้าสะเทินบก 1 อันดับ 6 วงศ์ 15 สกุล 22 ชนิด และสัตว์เลื้อยคลาน 12 วงศ์ 21 สกุล 27 ชนิด โดยมีชนิดที่
               เป็นรายงานการแพร่กระจายใหม่ในระดับจังหวัด 3 ชนิด เป็นสัตว์สะเทินน้้าสะเทินบก 2 ชนิด คือ กบท่าสาร (Alcalus
               tasanae) และปาดจิ๋วข้างขาว (Feihyla hasanae) และสัตว์เลื้อยคลานจ้านวน 1 ชนิด คือ จิ้งจกหินหางเรียว
               (Gehyra angusticaudata) ส้าหรับสภาพนิเวศที่พบ สัตว์สะเทินน้้าสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานในอ้าเภอบาง
               สะพาน พบว่าสามารถจ้าแนกสภาพนิเวศที่พบสัตว์ทั้ง 2 กลุ่ม ได้เป็น 3 ประเภท จากการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นเกณฑ์

               คือ พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่เกษตรกรรม และบริเวณที่อยู่อาศัยของมนุษย์ โดยพบว่าสัตว์สะเทินน้้าสะเทินบกอาศัยใน
               พื้นที่ธรรมชาติเท่ากับในพื้นที่เกษตรกรรม (17 ชนิด) และอาศัยในบริเวณที่อยู่อาศัยของมนุษย์น้อยที่สุด (6 ชนิด)
               ขณะที่สัตว์เลื้อยคลานพบอาศัยอยู่ในพื้นที่ธรรมชาติเป็นจ้านวนชนิดมากที่สุด (17 ชนิด) รองลงมาเป็นพื้นที่
               เกษตรกรรม (15 ชนิด) และบริเวณที่อยู่อาศัย (7 ชนิด) ตามล้าดับ

               ข้อเสนอแนะ

                     1. การเก็บข้อมูลอาจใช้วิธีการส้ารวจอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น การวางกับดัก ซึ่งอาจท้าให้ได้ข้อมูลชนิดสัตว์สะเทิน
               น้้าสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลานเพิ่มขึ้น
                     2. ผลการศึกษาในครั้งนี้ควรน้าไปเผยแพร่ให้กับชุมชนอ้าเภอบางสะพาน เพื่อเป็นข้อมูลและสร้างความรู้ความ
               เข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสัตว์ในกลุ่มนี้

                                                         ค้านิยม

                     ขอขอบพระคุณ รศ. ดร. วีระยุทธ์ เลาหะจินดา ที่ได้กรุณาให้ค้าปรึกษาต่างๆ ขอขอบคุณ คุณวิโรจน์ สุขสมัย ที่

               ช่วยอ้านวยความสะดวกในการเก็บข้อมูลภาคสนาม เพื่อนๆ หน่วยวิจัย ASESRU ที่ให้ความช่วยเหลือในการเก็บข้อมูล
               ภาคสนาม ขอขอบคุณภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ส้าหรับการ
               สนับสนุนทุนในการวิจัย และขอขอบคุณคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ที่ให้ทุนวิจัย
               โครงการความหลายหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตบางชนิดบริเวณอ้าเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

                                                      REFERENCES


               Aowphol A., A. Rujirawan, W. Taksintum, S. Arsirapot & D.S. Mcleod. 2013. Re-evaluating the
                  taxonomic status of Chiromantis in Thailand using multiple lines of evidence (Amphibia: Anura:
                  Rhacophoridae). Zootaxa 3702(2): 101–123.
               Aranyavalai, V. 2003. Species diversity and habitats characteristics of butterfly lizards (Leiolepis
                  spp.) in Thailand. PhD Thesis, Chulalongkorn University, Bangkok.
               Atauri J.A. & J.V.D. Lucio. 2001. The role of landscape structure in species richness distribution of
                  birds, amphibians, reptiles and lepidopterans in Mediterranean landscape. Landscape Ecology
                  16(2): 147–159.





               วารสารสัตว์ป่าเมืองไทย ปีที่ 25 พ.ศ. 2561                  Journal of Wildlife in Thailand Vol. 25, 2018
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33