Page 351 -
P. 351

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                     2) ไอออนในสารละลายดิน ทองแดงในสารละลายดินมีความเข้มข้นต�่ามาก อยู่ในช่วง 10 ถึง
                                                                                              -8
                                                                    2+
               -6
            10  โมลาร์ หรือ 0.6-63 ส่วนต่อพันล้าน (ppb) มีอยู่ 3 รูป คือ Cu  (คิวปริกไอออน) เมื่อพีเอชของดิน
                                               0
            ต�่ากว่า  6.9  คิวริกไฮดรอกไซด์  [Cu(OH) ]  เมื่อพีเอชของดินสูงกว่า  6.9  และ  Cu(OH)   เมื่อพีเอช  7
                                                                                      +
                                              2
            นอกจากนี้ยังอยู่ในรูปของสารอินทรีย์เชิงซ้อนหรือคีเลต (chelate) ซึ่งล้วนแต่เป็นรูปที่รากพืชดูดไปใช้ได้
            การเปลี่ยนรูปไอออนของทองแดงในสารละลายดินเกิดจากกระบวนการไฮโดรไลซิส  ซึ่งหนึ่งในผลปฏิกิริยา
            คือ H  จึงท�าให้พีเอชของดินลดลง ดังนี้
                 +
                                           2+
                                         Cu  + H O  ↔  Cu(OH)  + H   +
                                                                +
                                                 2
                                       Cu  + 2H O  ↔  Cu(OH)  + 2H     +
                                          2+
                                                                 0
                                                 2              2
                                          2+
                                       Cu  + 3H O  ↔  Cu(OH)  + 3H     +
                                                                 -
                                                 2              3
                                          2+
                                                                 2-
                                       Cu  + 4H O  ↔  Cu(OH)  + 4H     +
                                                 2              4
                     3) ไอออนที่ถูกดูดซับ การดูดซับคิวปริกไอออน (Cu ) ของดินมี 2 แบบ คือ
                                                                2+
                       (1) ดูดซับด้วยแรงของประจุไฟฟ้าสถิตบนผิวของแร่ดินเหนียวหรืออินทรียวัตถุ  ส่วนนี้เป็น
            ประโยชน์ต่อพืช และ
                       (2) ดูดซับทางเคมีที่ผิวของแร่ดินเหนียว อินทรียวัตถุ หรือออกไซด์ของเหล็ก อะลูมินัมหรือ
            แมงกานีส ด้วยพันธะทางเคมีที่เหนียวแน่น ซึ่งพืชดูดไปใช้ได้ยากกว่าการดูดซับแบบแรก
                       เมื่อเปรียบเทียบในกลุ่มจุลธาตุด้วยกันแล้ว  ทองแดงดูดซับกับอินทรีย์วัตถุได้มากกว่าและ

            เหนียวแน่นกว่าธาตุอื่น ดังนั้นพืชในดินอินทรีย์ (มีอินทรียวัตถุมากกว่า 20 %) จึงมักขาดแคลนทองแดง
                 1.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการความเป็นประโยชน์ของทองแดงในดิน
                     ปัจจัยที่ส�าคัญมี 4 ประการ คือ

                     1) เนื้อดิน  โดยปรกติดินเนื้อละเอียดจะมีระดับความเป็นประโยชน์ของทองแดงสูงกว่าดินเนื้อ
            หยาบ เนื่องจากวัตถุต้นก�าเนิดดินมีทองแดงมากกว่า และการสูญหายจากการชะละลายมีน้อยกว่า พืชที่

            ปลูกในดินทรายซึ่งไม่มีการอนุรักษ์ดินและเกิดการชะละลายมากจึงมักขาดทองแดง
                     2) สภาพกรดด่างหรือพีเอชของดิน มีอิทธิพลต่อความเป็นประโยชน์ของทองแดงต่อพืชดังนี้
                       (1) ความเข้มข้นของทองแดงในสารละลายดินจะลดลงเมื่อพีเอชของดินสูงขึ้น  ในช่วงพีเอช

            4-7  การเพิ่มขึ้นของพีเอชหนึ่งหน่วยท�าให้การละลายของทองแดงลดลง  100  เท่า  ขณะที่พีเอชของดิน
            เพิ่มขึ้นจาก  4  เป็น  7  นั้น  ทองแดงจะดูดซับที่ผิวของเหล็กหรืออะลูมินัมออกไซด์หรือไฮดรอกไซด์อย่าง

            เหนียวแน่น และอาจมีแร่ดังกล่าวปกคลุมหรือหุ้มไว้อีกด้วย ทองแดงส่วนนี้จึงไม่เป็นประโยชน์ต่อพืช
                       (2) ความเป็นประโยชน์ของทองแดงจะสูงขึ้นในดินกรด กล่าวคือ โดยปรกติแร่ดินเหนียวจะ
            ดูดซับไอออนของทองแดง  เหนียวแน่นกว่าไอออนพวกอื่นๆ  หลายชนิด  ทองแดงส่วนนี้จึงเป็นประโยชน์

                                                          +
            แก่พืชค่อนข้างยาก  แต่ในดินกรดไฮโดรเจนไอออน  (H )  ซึ่งมีอยู่มาก  สามารถไล่ที่ทองแดงซึ่งดูดซับได้
            จึงช่วยเพิ่มทองแดงในสารละลายดิน ท�าให้พืชดูดใช้ธาตุนี้ได้มากเมื่อดินมีพีเอชต�่า




                    ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว                             จุลธาตุของข้าว (ส่วนที่ 2)  347
   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356