Page 220 -
P. 220

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                  เมื่อพิจารณาจากการเติบโตของข้าว  3  ระยะ  คือ  (1)  ระยะการเติบโตไม่อาศัยเพศ  เริ่มจาก
          เมล็ดงอกถึงเริ่มก�าเนิดช่อดอก  (2)  ระยะเจริญพันธุ์  ตั้งต้นจากเริ่มก�าเนิดช่อดอกถึงออกดอก  และ  (3)

          ระยะสุกแก่  เริ่มจากออกดอกถึงเก็บเกี่ยวนั้น  ในสองระยะแรกมีการสร้างต้นและใบ  อันเป็นแหล่งผลิต
          และสะสมคาร์โบไฮเดรต  ส่วนระยะที่สามเน้นการสร้างรวงและเมล็ด
                  แต่ละระยะการเติบโตเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบผลผลิตข้าวดังนี้ คือ

                  1) ระยะการเติบโตไม่อาศัยเพศ บ่งชี้ถึงจ�านวนรวงต่อพื้นที่
                  2) ระยะเจริญพันธุ์ บ่งชี้ถึงจ�านวนเมล็ดต่อรวง และ

                  3) ระยะสุกแก่ บ่งชี้ถึงร้อยละของเมล็ดดีและน�้าหนักเฉลี่ยต่อ 1,000 เมล็ด
                  ระดับผลผลิตเมล็ดข้าว  ขึ้นอยู่กับการสะสมคาร์โบไฮเดรต  ตั้งแต่ก่อนข้าวตั้งท้องและหลังจาก
          ตั้งท้อง ปริมาณคาร์โบไฮเดรตในเมล็ดประมาณ 30 % ได้มาจากส่วนที่ผลิตและสะสมไว้ก่อนระยะตั้งท้อง

          ส่วนอีกประมาณ 70 % มาจากการสังเคราะห์แสงของใบข้าว หลังจากระยะตั้งท้อง ดังนั้นระดับผลผลิต
          ข้าวจึงขึ้นอยู่กับความสามารถในการสังเคราะห์แสงและสะสมคาร์โบไฮเดรต  ตั้งแต่ก่อนข้าวตั้งท้องและ

          หลังจากตั้งท้อง ความสมบูรณ์ของใบทั้งสองช่วงนี้จึงมีความส�าคัญ




                                               บรรณานุกรม


          ประพาส  วีระแพทย์.  2552.  ความรู้เบื้องต้นเรื่องข้าว.  กรมการข้าว  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
          ประพาส  วีระแพทย์.  2553.  ข้าว.  ในสารานุกรมไทยส�าหรับเยาวชน  โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ
                พระเจ้าอยู่หัวฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่มที่ 16. โครงการสารานุกรมไทยส�าหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์
                ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ. กรุงเทพมหานคร.
          Dobermann, A and T. Fairhurst. 2000. Rice: Nutrient Disorders and Nutrient Management. Potash

                and Phosphate Institute. Canada.
          Fageria, N.K. 2006. Yield physiology of rice. Journal of Plant Nutrition. 30: 843-879.
          Fageria, N.K. 2014. Mineral Nutrition of Rice. CRC. Press. New York.
          Fageria, N.K., V.C. Baligar and C.A. Jones. 2011. Growth and Mineral Nutrition of Crops. CRC.
                Press. New York.
          Fageria, N.K., N.A. Slaton and V.C. Baligar. 2003. Nutrient management for improving lowland

                rice productivity and sustainability. Advances in Agronomy. 80: 63-152.
          Fairhurst, T., C.Witt, R. Buresh and A. Dobermann (Edited). 2007. Rice: A Practical Guide to
                Nutrient Management. International Rice Research Institute, Philippines and International
                Plant Nutrition Institute, Singapore.
          IRRI (International Rice Research Institute). 1985. The Flowering Response of the Rice Plant to
                Photoperiod. Los Baños. Philippines.



          216 การเจริิญเติบโตของข้าว                                 ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225