Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




            เมื่อเกิดกระบวนการ  แกชราลง  นาฬกาชีวิตจะกำหนดใหรางกายหยุดสราง

            การเจริญเติบโตและการแบงตัวของเซลลตอไป


                   ทฤษฎีการทำลาย  (Damage Theories)

                   ทฤษฎีการทำลายอธิบายถึงสิ่งมีชีวิตมีอายุมากขึ้น อวัยวะมีการใช
            งานมากยอมเสื่อมไดงายและเร็วขึ้น  อวัยวะตางๆ  ในรางกายมีการใชงาน

            มากขึ้น  เกิดการเสื่อมถอยหรือเกิดการเปลี่ยนแปลง  เนื้อเยื่อและอวัยวะที่

            ถูกทำลาย ซึ่งเปนกุญแจสำคัญที่จะทำใหการทำงานของอวัยวะตางๆ ลดลง
            และเกิดการเสียชีวิตในที่สุด กระบวนการเปลี่ยนแปลงในระดับ DNA ที่มี

            การถายทอดขอมูลที่ผิดพลาด  หรือการเชื่อมไขว (Cross linkage)  เปน
            ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นและทำให DNA มีการเสื่อมเปนผลใหเซลลตายกลาวคือ

            ในภาวะที่เซลลแกลง  สารการเชื่อมไขวจะเกาะติดกับโมเลกุลของ DNA

            ขางใดขางหนึ่ง จะขัดขวางตอกระบวนการแบงตัวของเซลล ความยืดหยุน
            ของเนื้อเยื่อภายในปอด ไตและระบบกลามเนื้อและขอตอลดลง (Warner,

            Butler, Sprott & Schneider, 1987) เมื่อเวลาผานไป คนแกขึ้นและเซลล
            แกมากขึ้น จะมีการเกาะติดของสารการเชื่อมไขวมากขึ้น และโมเลกุลของ

            DNA จะหนาทึบในชองวางระหวางเซลล การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลทำใหเซลล

            ตายได  และปลอยของเสีย  หรืออนุมูลอิสระออกมาในเซลลเปนจำนวน
            เกิดการออกซิเดชั่นสงผลตอการทำลายเซลลสมอง และขัดขวางการขนสง

            สารอาหารและสารเคมีภายในเซลล เมื่อเซลลแกขึ้นมีการผลิตมากขึ้นโอกาส

            การถายทอดผิดพลาดยอมมีมากขึ้น หนึ่งในทฤษฎีที่อธิบายการทำลายเซลล
            คือ ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free Radicals theory) เปนอะตอมหรือโมเลกุล




                                               การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ   35
                                               Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41