Page 34 -
P. 34
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สังคม เศรษฐกิจและสังคม พันธุกรรม สุขภาพ การบริการสังคม จิตวิทยา
วิถีชีวิต และเหตุการณในชีวิต การนำไปสูภาวะความสำเร็จในชีวิตผูสูงอายุ
ไดนั้น จึงตองเรียนรูทั้งทฤษฎีดานชีววิทยา จิตวิทยา และสังคม เพราะการ
เปลี่ยนแปลงเขาสูกระบวนการสูงอายุ ตลอดจนบุคลิกภาพและพฤติกรรม
ของผูสูงอายุนั้น เปนการพัฒนาและปรับตัวของความคิด ความรู แรงจูงใจ
การเปลี่ยนแปลงไปของอวัยวะรับสัมผัสทั้งปวง ตลอดจนสังคมที่คนชรานั้นๆ
อาศัยอยู ในบทนี้ผูเขียนจะขอนำเสนอทฤษฎีสูงอายุ (Aging Theories)
ที่มีอิทธิผลตอความสำเร็จในชีวิตผูสูงอายุ 3 กลุมหลัก ดังนี้
1. ทฤษฎีทางชีววิทยา (Biological Theory)
ความชราเปนภาวะถดถอยของรางกาย (Senescence) ซึ่งเปนสภาวะ
ที่รางกายลวงเขาสูวัยชรา ภาวะถดถอยของรางกายเปนกระบวนการที่เซลล
ตาง ๆ ภายในรางกายเสื่อมสภาพลง จากการที่มีอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยจะ
ปรากฏออกมาในสภาวะที่รางกายทํางานไมเปนปกติ และถดถอยลงเรื่อย ๆ
ตามระยะเวลาที่ผานไป อยางไรก็ตาม มีการตั้งคำถามวามนุษยมีอายุยืนยาวขึ้น
กวาในอดีตไดอยางไร ทำไมถึงเปนเชนนั้น และทำไมมนุษยตางเผาพันธุถึงมี
กระบวนการแกชราลงแตกตางกัน เพื่อจะเขาใจถึงกลไกของการเปลี่ยนแปลง
ของสรีรวิทยาการสูงอายุหรือความแก จนกระทั่งการเสียชีวิตของมนุษยนั้น
ทฤษฎีนี้ก็ไดพยายามตอบคำถามตางๆ เหลานั้น อยางไรก็ตาม ถึงแมวาจะมี
การศึกษาคนควาทดลองเกี่ยวกับความแกมากมาย แตพบวาทฤษฎีสูงอายุ
มักจะอธิบายเหตุและผลแยกสวนกัน ยังไมมีขอสรุปใดที่นำไปใชอธิบายทั่วไปได
ดังนั้นการทำความเขาใจและคนหาความจริงเกี่ยวกับปรากฏการณสูงอายุ
การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ 33
Promoting Physical Activity for Health in the Elderly