Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กระบวนการชราภาพหรือความแกชราของเซลลตางๆ ซึ่งเปนปฏิกิริยาซับซอน
เกี่ยวของกับพันธุกรรมการเผาผลาญฮอรโมน ระบบภูมิคุมกัน ระบบประสาท
ตอมไรทอ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงขององคประกอบในเซลล เนื้อเยื่อ และ
อวัยวะ (Jones Cited in Jones and Rose, 2005) กระบวนการที่มีความ
ซับซอนเชนนี้จึงตองอาศัยหลายทฤษฎีที่จะอธิบายไดอยางถองแท โดยผูเขียน
จะขอแบงกลุมทฤษฎีทางชีววิทยาออกเปน 3 กลุม ประกอบดวย ทฤษฎี
ดานพันธุกรรม (Genetic Theory) ทฤษฎีการทำลาย (Damage Theories)
และทฤษฎีการไมสมดุล (Gradual imbalance theories) รายละเอียดโดย
สังเขปดังนี้
ทฤษฎีดานพันธุกรรม (Genetic Theory)
ทฤษฎีนี้มุงเนนอธิบายบทบาทการถายทอดทางพันธุกรรมที่เปนตัว
ควบคุมความแกชราของมนุษย โดยมียีนบางตัวที่เปนตัวควบคุมอัตราเรง
ใหเกิดการแกชราใหเกิดขึ้นอยางชาๆ หรือรวดเร็ว และมียีนอีกหลายพัน
ชนิดที่มีบทบาทสำคัญตอการพัฒนาพยาธิสภาพของโรค อยางไรก็ตาม
Medvedev (1981) กลาววากระบวนการแกชรามีผลมาจากแตกตัวทีละ
เล็กละนอยของสารพันธุกรรมที่เรียกวา DNA (Deoxyribonucleic Acid)
ภายในเซลล ซึ่งมีโครงสรางเปนกรดนิวคลีอิก 2 เสนพันกันเปนเกรียวคูคอย
เก็บรักษารหัสหรือขอความของเซลล การแตกตัวของ DNA สงผลใหการ
เจริญเติบโตของเซลลไมสมบูรณ หยุดการแบงตัวและเสียชีวิตในที่สุด นอกจากนี้
ทฤษฎีดานพันธุกรรมเชื่อวากระบวนการแกชราถูกควบคุมโดยนาฬกาชีวิต
(Biological clock) ซึ่งจะกำหนดการทำหนาที่เซลลตางๆ ในรางกายมนุษย
34 การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ
Promoting Physical Activity for Health in the Elderly