Page 28 -
P. 28

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                   ลักษณะการแบงกลุมผูสูงอายุดังกลาว สะทอนฐานคิดในเชิงทฤษฎี

            ผูสูงอายุในดานการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพ ที่อธิบายวาเมื่อบุคคลเมื่ออายุ
            มากขึ้นจนเขาสูวัยสูงอายุ จะมีภาวะเสื่อมถอยและสมรรถภาพการทำหนาที่

            ทางกายลดลง สงผลใหความสามารถในการเคลื่อนไหวและการชวยเหลือ
            ตนเองของผูสูงอายุลดลง จนในที่สุดกลายเปนผูปวยและตองรอรับบริการ

            ทางการแพทย ผูเขียนเห็นวามุมมองดังกลาวเชนนี้เปนมุมมองระบบบริการ
            สุขภาพเชิงรับ (Passive health service) เปนนโยบายที่ตองลงทุนเพื่อการ

            ดูแลรักษาผูสูงอายุที่ภาวะความเจ็บปวยในราคาที่แพง  แทจริงนั้น  นโยบาย
            บริการสุขภาพในสังคมผูสูงอายุควรเปนระบบริการสุขภาพเชิงรุก (Pro-active

            health service) ที่มุงเนนการสงเสริมสุขภาพและปองกันภาวะเจ็บปวย
            จึงถือวาเปนการลงทุนคุมคามากกวา กระบวนการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ

            ที่สำคัญยิ่งประการหนึ่ง ที่มีการกลาวถึงในประชาคมวิชาการระดับสากลวา
            เปนวิธีการที่เหมาะสมและไดผล คือ การสงเสริมใหผูสูงอายุมีกิจกรรมทางกาย

            อยางเพียงพอตอการดำรงภาวะสุขภาพของผูสูงอายุ

            ความจำเปนของกิจกรรมทางกายตอสุขภาพผูสูงอายุ

                   ในบริบทสังคมไทยนับจากอดีตจนถึงปจจุบัน มีความเชื่อวาเมื่อบุคคล

            เขาสูภาวะผูสูงอายุ ไมควรเคลื่อนไหวรางกายมากในการดำเนินชีวิตประจำวัน
            ผูสูงอายุหรือที่เรียกขานวา “คนชรา” ถูกกำหนดใหอยูนิ่งๆ ไมควรประกอบ

            กิจกรรมใดๆ เพราะจะเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งจะเปนอันตรายถึงแก
            ชีวิตหรือทุพพลภาพ  ความเชื่อดังกลาวนั้นถือเปนความเชื่อที่เปนอุปสรรค

            ตอการสรางเสริมสุขภาพผูสูงอายุ เพราะนอกจากการอยูเนือยนิ่ง (Sedentary)
            ของผูสูงอายุจะทำใหขาดโอกาสการมีกิจกรรมทางกายอยางเพียงพอ ยังเปน




                                               การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ   27
                                               Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33