Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




            มั่งคั่ง ซึ่งมีผลตอสุขภาพและการมีอายุยืนของประชาชน ประเทศที่พัฒนาแลว

            เชน สหรัฐอเมริกา หรือประเทศในยุโรป ใชเวลากวาครึ่งศตวรรษหรือเปน
            ศตวรรษที่จะกาวเขาสูการเปนสังคมสูงอายุโดยสมบูรณ ประเทศญี่ปุนไดเขาสู

            สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ เมื่อป ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) และประเทศจีน

            จะเขาสูสังคมสูงอายุโดยสมบูรณ  ในป  ค.ศ. 2026 (พ.ศ. 2569) (สถาบัน
            วิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556)



                   ในมิติการสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุ สไปรดูโซ (Spirduso, 1995)
            จำแนกแบงภาวะสุขภาพของผูสูงอายุ  โดยพิจารณาจากความสามารถในการ

            หนาที่ของรางกายเพื่อการดำรงชีวิตอยางมีคุณภาพชีวิตที่ดี ออกเปน 6 ระดับ
            ดังนี้

                   1. สมรรถภาพทางกายระดับดีเยี่ยม (Physically elite) หมายถึง

            ความสามารถในการแขงขันกีฬา การออกกำลังกายในระดับหนัก หรือเสี่ยง
            อันตราย เชน ยกน้ำหนัก ปนเขา ไตหนาผา เปนตน

                   2. สมรรถภาพทางกายระดับดี (Physically fit) หมายถึง
            ความสามารถในการทำงานระดับปานกลาง หรือการออกกำลังกายแบบ

            ออกแรงตานทุกประเภท และการเลนกีฬาและงานอดิเรก เชน การตกปลา

            การทำสวน การปลูกตนไม เปนตน
                   3. สมรรถภาพทางกายระดับชวยเหลือตนเองได (Physically

            independent)  หมายถึง ความสามารถในการทำงานระดับเบา  การทำงาน

            อดิเรก การทำกิจกรรมออกกำลังกายที่ออกแรงระดับเบา เชน การเลน






                                               การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ   23
                                               Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29