Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                   2. ระดับสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ (Aged society)  คือ  เมื่อ

            ประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป เพิ่มขึ้นเปน 20% หรือ ประชากรอายุ 65 ป
            เพิ่มเปน 14% ของประชากรโดยรวมทั้งหมดของทั้งประเทศ

                   3. ระดับสังคมผูสูงอายุสูงสุด (Super-aged society) คือ สังคม

            ที่มีประชากรอายุ 65 ปขึ้นไป มากกวา 20% ของประชากรทั้งประเทศ


                   ลักษณะการแบงระดับดังกลาวสอดคลองกับองคการอนามัยโลก

            ที่ไดใหความหมายไววาหากชุมชนใดมีจำนวนประชากรผูสูงอายุตั้งแต
            รอยละ 15 ของประชากรทั้งหมดขึ้นไปถือวาชุมชนนั้นเปนชุมชนผูสูงอายุ

            หรือจะพิจารณาจากการที่สังคมนั้นมีประชากรสูงอายุ (อายุตั้งแต  60 ปขึ้นไป)

            มากกวารอยละ 10 ของประชากรทั้งหมด จะถือวาสังคมนั้นกำลังเปลี่ยนแปลง
            เปนสังคมสูงวัย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ ในประชากรทุกๆ 10 คน จะเปน

            ผูสูงอายุ 1 คน สำหรับประเทศไทยซึ่งเปนประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย
            ไดเกิดปรากฏการณนี้เชนกัน นั่นคือ มีการปรับเปลี่ยนโครงสรางประชากร

            เขาสูสังคมประชากรผูสูงอายุ จากการสำรวจพบวาประชากรผูสูงอายุไทย

            60 ปขึ้นไป มีจำนวนเพิ่มขึ้นจาก 8.4 ลานคน (รอยละ 13.2) ในป 2553
            และเมื่อถึง พ.ศ. 2573 จะเพิ่มเปน 17.6 ลานคน (รอยละ 26.6) และเพิ่ม

            สูงขึ้นเปน 20.5 ลานคน (รอยละ 31.2) ในป พ.ศ. 2583 (สำนักงานเศรษฐกิจ
            และสังคมแหงชาติ, 2556 ; วิพรรณ ประจวบเหมาะ, 2556) เมื่อเวลานั้นมาถึง

            โครงสรางประชากรของประเทศไทยจะเคลื่อนเขาสูการเปนสังคมผูสูงอายุ

            โดยสมบูรณและจะเปนสังคมสูงอายุระดับสูงสุด อยางไรก็ตาม ทุกประเทศ
            ทั่วโลกมีการกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุในชวงเวลาแตกตางกันตามความเจริญ




           22    การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ
                 Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28