Page 93 -
P. 93

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว









                                     4.2) ช่องทางการจัดจ้าหน่าย
                                     เกษตรกรผู้เลี้ยงไหมจะรวบรวมน้ารังไปจ้าหน่ายให้แก่ โรงงานผู้ผลิตเส้นด้าย

                       เกษตรกรผู้ปั่นเส้นด้าย หรือเก็บไว้เองเพื่อน้าไปปั่นเส้นด้ายต่อ จากการสัมภาษณ์พบว่าประมาณร้อย
                       ละ 70 ของปริมาณรังไหมจะถูกส่งไปจ้าหน่ายให้โรงงานปั่นด้าย และอีกประมาณร้อยละ 30 จะ

                       จ้าหน่ายให้แก่เกษตรกรหรือเก็บไว้เพื่อท้าการปั่นด้ายต่อไป
                                     ในการจ้าหน่ายให้แก่โรงงานผู้ผลิตเส้นด้ายนั้น เกษตรกรจะรวบรวมจนได้จ้านวน

                       หนึ่งแล้วจะน้าไปจ้าหน่ายที่โรงงาน ในปัจจุบันมีโรงงานรับซื้อคือ บริษัทสปันซิลค์ เวิลด์ จ้ากัด และ

                       บริษัทก้องเกียรติ จ้ากัด ในการขนส่งมักจะขนโดยรถกระบะ หรือบางรายทางศูนย์ความเป็นเลิศทาง
                       วิชาการด้านไหม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะเป็นผู้ไปเก็บรวบรวมน้ามาส่งให้โรงงานฯ ต่อไป

                                     ในการจ้าหน่ายดักแด้นั้นมักเป็นการจ้าหน่ายในหมู่บ้าน หรือในละแวกใกล้เคียงเพื่อ

                       น้าไปท้าเป็นอาหาร หรือมีการจ้าหน่ายเพื่อน้าไปท้าเป็นถั่งเช้า
                                  5) อุตสาหกรรมการปั่นด้ายและย้อมเส้นไหม

                                  ในการปั่นด้ายนั้นแบ่งได้เป็น 2  แบบคือ การปั่นด้ายแบบครัวเรือนโดยเกษตรกร และ
                       การปั่นด้ายแบบอุตสาหกรรม

                                     5.1) การปั่นด้ายด้วยมือ แบบครัวเรือน
                                     การปั่นด้ายแบบครัวเรือนจะท้าโดยเกษตรกร โดยเกษตรกรที่ท้าการปั่นด้ายไหมอีรี่

                       ในปัจจุบันมีประมาณ 5 กลุ่ม มีผู้ปั่นด้ายประมาณ 56 ราย อยู่ในจังหวัดต่างๆ ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรใน

                       จังหวัดล้าปาง อุทัยธานี นครสวรรค์ เชียงใหม่ และอ้านาจเจริญ
                                        5.1.1) ด้านวัตถุดิบ

                                        วัตถุดิบที่ใช้ในการปั่นด้ายคือใยไหมนั้นจะมากจากการเลี้ยงไหมของเกษตรกรเอง

                       หรือมาจากการซื้อจากเกษตรกรผู้เลี้ยงไหม โดยถ้ามาจากการซื้อเกษตรกรมักซื้อจากคนรู้จัก หรือ
                       เกษตรกรผู้เลี้ยงในพื้นที่เดียวกัน

                                        5.1.2) ด้านการผลิต
                                        เกษตรกรผู้ท้าการปั่นด้ายจะต้องมีทักษะและความช้านาญในการปั่นเส้นด้าย

                       เนื่องจากไหมอีรี่เป็นไหมที่มีเส้นใยสั้น ดังนั้นในการปั่นด้ายจึงใช้เครื่องเมเดลรีจักรา (MC) ในการปั่น
                       หากเกษตรกรมีความช้านาญ เส้นด้ายจะมีลักษณะเส้นเล็ก  มีความเรียบ สม่้าเสมอ มีปุ่มปมน้อย ท้า

                       ให้ขายได้ราคาดี

                                        การปั่นด้ายด้วยมือของเกษตรกรนั้นจะเป็นการท้าการผลิตเพื่อเก็บสต็อก
                       มากกว่าการท้าการผลิตตามค้าสั่งซื้อ เนื่องจากมีก้าลังการผลิตน้อย เป็นการท้าในระหว่างมีเวลาว่าง

                       ดังนั้นในแต่ละวันเกษตรกรอาจท้าการปั่นด้ายประมาณ 2-4  ชั่วโมง  ในการปั่นเส้นด้ายใน 1 วัน ( 8

                       ชม.) จะท้าการปั่นได้ประมาณ 800 กรัม โดยรังไหม 1 กิโลกรัมสามารถปั่นเป็นเส้นด้ายประมาณ 700


                                                               74
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98