Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                       บริษัทสิ่งทออีกประมำณ 2,000 บริษัท โดยมีผู้ถูกจ้ำงงำนในอุตสำหกรรมสิ่งทอ 2 แสนรำย และใน
                       อุตสำหกรรมเสื้อผ้ำอีก 1 ล้ำนรำย

                                     กำรพัฒนำกำรเลี้ยงไหมของไทยได้รับกำรสนับสนุนจำกภำครัฐอย่ำงเต็มที่ โดยมีกำร
                       จัดตั้งศูนย์หม่อนไหมแห่งชำติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ (ปัจจุบันคือ

                       กรมหม่อนไหม) โดยรวมหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรเลี้ยงไหม 2 หน่วยงำนเข้ำด้วยกัน ได้แก่ สถำบันวิจัย
                       หม่อนไหม และกองส่งเสริมหม่อนไหม

                                     อุตสำหกรรมสิ่งทอของไทยนั้นพึ่งพำกำรส่งออกเป็นหลัก โดยตลำดหลักของสิ่งทอไทย

                       ได้แก่ สหรัฐอเมริกำ ญี่ปุ่น และประเทศในแถวยุโรป โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมำ กำรส่งออกสิ่งทอ
                       มีแนวโน้มเติบโตอย่ำงต่อเนื่องซึ่งเป็นแรงผลักดันให้ตลำดไหมของไทยมีกำรเติบโตตำม โดยมีกำร

                       คำดกำรณ์ว่ำตลำดไหมของไทยในช่วงปี 2559 ถึง 2564 จะมีอัตรำเติบโตเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 8.1 และ

                       6.5 ของมูลค่ำและปริมำณตำมล ำดับ (ตำรำงที่ 2.17 และ 2.18) โดยไหมหม่อนเป็นไหมหลักที่เป็นตัว
                       ขับเคลื่อนกำรเติบโดของตลำดไหมไทย ส ำหรับไหมอีรี่นั้นถึงแม้ว่ำจะเริ่มมีกำรเลี้ยงในประเทศไทยมำได้

                       สักระยะหนึ่งแล้ว แต่ยังไม่มีปริมำณมำกเพียงพอให้รำยงำนในระดับอุตสำหกรรม
                                     5) ประเทศญี่ปุ่น

                                     ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีควำมส ำคัญทำงเศรษฐกิจเป็นอันดับ 3 ของโลก และยัง
                       เป็นประเทศที่มีกำรพัฒนำเศรษฐกิจเป็นอันดับ 2 ของโลก โดยมีอุตสำหกรรมกำรผลิตเป็นอุตสำหกรรม

                       หลักของประเทศ ซึ่งมีกำรคำดกำรณ์ว่ำจะเติบโตอย่ำงมำกในช่วงปี 2559 ถึง 2564 ส ำหรับอุตสำหกรรม

                       สิ่งทอนั้นถือว่ำเป็นอุตสำหกรรมที่มีบทบำทต่อเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่นเป็นอย่ำงมำกและมีกำรเติบโต
                       สูงเนื่องจำกอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ มีเทคโนโลยีขั้นสูง และมีองค์กรที่เกี่ยวข้องที่มีประสิทธิภำพ

                                     เมื่อพิจำรณำถึงอุตสำหกรรมไหมของญี่ปุ่นพบว่ำ รัฐบำลญี่ปุ่นมีกำรส่งเสริมกำรเลี้ยงไหม

                       ที่มีประสิทธิภำพ โดยมีนโยบำยสนับสนุนหน่วยธุรกิจในอุตสำหกรรมไหมให้สำมำรถอยู่รอดได้ด้วยตัวเอง
                       ด้วยกำรสนับสนุนควำมร่วมมือระหว่ำงเกษตรกรผู้เลี้ยงไหม บริษัทปั่นไหม บริษัทผลิตเสื้อผ้ำ และธุรกิจ

                       อื่นที่เกี่ยวข้อง นอกจำกนี้ยังมีกำรจัดตั้ง The National Institute of Agro-biological Sciences (NIAS)
                       เพื่อวิจัยและพัฒนำกำรเลี้ยงไหม รวมทั้งมีกำรพัฒนำเทคโนโลยีต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ท ำให้ตลำดไหมของ

                       ญี่ปุ่นเติบโตขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง โดยมีกำรคำดกำรณ์ว่ำตลำดไหมของญี่ปุ่นในช่วงปี 2559 ถึง 2564 จะมี
                       อัตรำเติบโตเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 7.4 และ 5.8 ของมูลค่ำและปริมำณตำมล ำดับ (ตำรำงที่ 2.17 และ

                       2.18) เมื่อพิจำรณำถึงชนิดไหมในตลำดญี่ปุ่น พบว่ำมีเพียงไหมหม่อนที่มีข้อมูลรำยงำนในระดับ

                       อุตสำหกรรม





                                                                 47
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71