Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                          เครื่องส ำอำงและ
                                           อุปกรณ์ทำงกำร

                                               แพทย์
                                              2.67%











                                                                  สิ่งทอ
                                                                 97.33%






                       ภาพที่ 2.9 ส่วนแบ่งกำรตลำดไหมในภูมิภำคเอเชียแปซิฟิกแบ่งตำมอุตสำหกรรมปลำยน้ ำ
                       ที่มา: ตำรำงที่ 2.21


                                     1) ประเทศจีน

                                     ประเทศจีนเป็นประเทศแรกที่มีกำรเลี้ยงไหม โดยอุตสำหกรรมเลี้ยงไหมของประเทศจีน
                       นั้นมียำวนำนกว่ำ 6,000 ปี จึงท ำให้จีนเป็นผู้ผลิตไหมรำยใหญ่ที่สุดของโลก นอกจำกนี้ประเทศจีนยังเป็น

                       ผู้น ำด้ำนสิ่งทอของโลก ซึ่งกำรส่งออกสิ่งทอของจีนมีส่วนแบ่งกำรตลำดถึงร้อยละ 40 ของตลำดสิ่งทอโลก
                       เมื่อพิจำรณำถึงอุตสำหกรรมในประเทศจีนพบว่ำ อุตสำหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้ำนั้นเป็นอุตสำหกรรมที่

                       ใหญ่ที่สุดในประเทศจีนซึ่งมีผู้ประกอบกำรถึง 20,000 รำย และมีก ำลังกำรผลิตมำกที่สุดในโลก ส่งผลให้

                       ประเทศจีนเป็นผู้น ำด้ำนกำรผลิตเสื้อผ้ำของโลก โดยวัตถุดิบหลักที่ใช้ในอุตสำหกรรมสิ่งทอได้แก่ ฝ้ำย ใย
                       สังเครำะห์ และไหม  อุตสำหกรรมสิ่งทอของจีนมีกำรเติบโตอย่ำงมำก เนื่องจำกได้รับกำรสนับสนุนจำก

                       รัฐบำลในหลำยด้ำน อำทิ กำรยกเว้นกฎหมำยเกี่ยวกับที่ดิน สิทธิพิเศษด้ำนภำษี  และกำรลดรำคำ
                       พลังงำน เป็นต้น

                                     ตลำดไหมจีนมีขนำดใหญ่ที่สุดในภูมิภำคเอเชียแปซิฟิกซึ่งมีส่วนแบ่งกำรตลำดสูงถึงร้อย

                       ละ 79.3 ของตลำดไหมในภูมิภำคนี้ เนื่องจำกมีวัตถุดิบไหมมำก และต้นทุนแรงงำนต่ ำ ส ำหรับชนิดไหมที่
                       มีในตลำดจีนนั้นได้แก่ ไหมหม่อน และไหมทุสซ่ำห์ โดยไหมส่วนใหญ่ในตลำดจีนจะเป็นไหมหม่อน ซึ่งมี

                       ส่วนแบ่งกำรตลำดอยู่ถึงร้อยละ 90.25 ของตลำดไหมจีน โดยมีกำรคำดกำรณ์ว่ำควำมต้องกำรไหมทั้งสอง
                       ชนิดนี้จะมีกำรเติบโตอย่ำงต่อเนื่อง (ตำรำงที่ 2.23 2.24 และภำพที่ 2.10)




                                                                 42
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66