Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                       บทสรุปผู๎บริหาร



                                                     บทสรุปผู้บริหาร


                          ตั้งแตํอดีต จนถึงประมาณปี พ.ศ. 2443  เป็นชํวงเวลาที่เศรษฐกิจโลกขับเคลื่อนอยูํบนฐาน
                   ของธรรมชาติ หรือ Natural Economy และตั้งแตํปี พ.ศ. 2443 เป็นต๎นมาจนถึงปี พ.ศ. 2557 การ

                   ขับเคลื่อนเศรษฐกิจอยูํบนพื้นฐานของฟอสซิล และปิโตรเลียม หรือที่เรียกวํา Fossil  economy ซึ่ง

                   เป็นยุคที่มีการใช๎แรงงานเป็นหลัก (Labor  Intensive)  แตํหลังจากโลกต๎องเผชิญกับการเพิ่มขึ้นของ

                   ประชากร ภาวะโลกร๎อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งสํงผลกระทบตํอเศรษฐกิจและ
                   สังคม ได๎แกํ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ความมั่นคงด๎านอาหาร ปัจจัยด๎านความเสี่ยงในการทํา

                   การเกษตร และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ  สังคมจึงกําลังจะเปลี่ยนผํานจากเศรษฐกิจที่

                   พึ่งพาฟอสซิลหรือน้ํามันปิโตรเลียมเป็นหลัก ไปสูํเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด๎วยชีวมวล หรือที่เรียกวํา หรือ

                   เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                   ของโลกและเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยํางยั่งยืน ดังแสดงในภาพที่ 1

























                                                       ที่มา: (TEM, 2014)
                                  ภาพที่ 1 วัฏจักรใหมํของเศรษฐกิจจากเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ



                          ในชํวงของการปรับเปลี่ยนจาก Fossil Economy ไปสูํ Bioeconomy ของประเทศไทยนั้น
                   จําเป็นต๎องอาศัยการขับเคลื่อนจาก 2 ภาคอุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมที่

                   ไมํใชํอาหาร ที่จะต๎องสร๎างดุลยภาพระหวําง 2 อุตสาหกรรมในมิติตํางๆ ไมํวําจะเป็นความมั่นคงด๎าน

                   อาหาร การเพิ่มมูลคําสินค๎าเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ความมั่นคงด๎านพลังงาน ด๎าน

                   สิ่งแวดล๎อมโดยเฉพาะสภาวะโลกร๎อนและการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ความเป็นอยูํของคนในสังคม

                   และการผลิตอยํางยั่งยืนที่เป็นหัวใจสําคัญของเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพดังแสดงในภาพที่ 2







                                                            V
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12