Page 10 -
P. 10
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทสรุปผู๎บริหาร
ได๎แกํ กรดแลคติก กรดซิตริก กลีเซอรีนหรือกลีเซอรอล ไลซีน และซอร๑บิทอล โดยเอกชนผู๎ผลิตมีทั้ง
บริษัทของประเทศไทย และบริษัทรํวมทุนจากตํางประเทศ เทคโนโลยีที่ใช๎ในปัจจุบันของประเทศไทย
มีลักษณะเป็นแบบโรงกลั่นชีวภาพระยะที่ 1 เชํน ในกรณีที่วัตถุดิบเริ่มต๎นเป็นน้ํามันปาล๑ม ซึ่งมีการ
นําไปใช๎ผลิตไบโอดีเซลและมีกลีเซอรีน เป็นผลผลิตพลอยได๎ แตํยังไมํมีการใช๎เทคโนโลยีเพิ่มเติมใน
การแปรรูป กลีเซอรีน เป็นสารเคมีชนิดอื่นที่มีมูลคําเพิ่มขึ้น
ภาพที่ 3 อุตสาหกรรมชีวภาพปัจจุบันที่มีในประเทศไทย (Bhumiratana, 2016 )
สําหรับวัตถุดิบประเภท Lignocellulose หรือชีวมวลรุํนที่ 2 ที่นับเป็นแหลํงชีวมวลสําคัญใน
การผลิตสารเคมีหลายชนิดทั้งเพื่อการผลิต Cellulosic Ethanol และสารเคมีเชํน Sugar Alcohol
ซึ่งใช๎เป็นสารให๎ความหวานเป็นต๎น ปัจจุบันยังคงมีข๎อจํากัดการผลิตหลัก คือ ต๎นทุนจากการ
Pretreatment ที่ต๎องการเปลี่ยน Lignocellulose ให๎เป็นน้ําตาลชนิดตํางๆ เพื่อใช๎เป็นสารตั้งต๎นใน
การผลิตสารเคมี (Chemical Building Blocks) จึงเป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทําให๎อุตสาหกรรมในประเทศ
ไทยสํวนใหญํยังคงใช๎วัตถุดิบชีวมวลรุํนที่ 1 เป็นหลัก ทั้งนี้หากต๎องการพัฒนาการใช๎ประโยชน๑จากชีว
มวลรุํนที่ 2 อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษที่เป็นอุตสาหกรรมที่มีการใช๎กระบวนการ Pretreatment เป็น
หลัก จะเป็นอุตสาหกรรมที่ควรใช๎เป็นต๎นแบบสําหรับการพัฒนากระบวนการผลิตได๎
VIII