Page 12 -
P. 12
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทสรุปผู๎บริหาร
สารเคมีแพลตฟอร๑มที่มีความเหมาะสมที่จะสํงเสริมให๎เกิดการวิจัยและพัฒนาตํอไป
st
ข๎อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการวิจัยและพัฒนาสําหรับวัตถุดิบรุํนแรก หรือ 1
Generation การวิจัยต๎นน้ําหรือการแปรรูปเบื้องต๎นนั้นไมํมีความซับซ๎อนมากจึงไมํต๎องทําการวิจัย
เพิ่มเติม แตํควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด๎านการเพิ่มผลผลิตของวัตถุดิบ อุตสาหกรรมกลางน้ําหรือการ
ผลิตสารแพลตฟอร๑มนั้น ควรศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารแพลตฟอร๑ม และอุตสาหกรรม
ปลายน้ําควรทําการศึกษาวิจัยการผลิตสารตํอเนื่องและการพัฒนาผลิตภัณฑ๑ สําหรับวัตถุดิบรุํนที่สอง
nd
หรือ 2 Generation มีแนวทางการวิจัยและพัฒนาด๎านกลางน้ํา และปลายน้ําเชํนเดียวกับวัตถุดิบ
รุํนแรก แตํต๎องมีการศึกษาวิจัยด๎านการแปรรูปขั้นต๎นเพื่อลดต๎นทุนการผลิตในขั้นตอนนี้ นอกจากนี้
หากต๎องการผลักดันการวิจัยและพัฒนาเพื่อให๎เกิดเทคโนโลยีการผลิตของประเทศไทยเอง จําเป็น
อยํางยิ่งที่จะต๎องมีนโยบายการสนับสนุนอยํางจริงจังและตํอเนื่อง ควรมีการปรับเปลี่ยนระบบการวิจัย
ให๎สามารถทําการวิจัยตํอเนื่องเป็นระยะเวลาหลายปี พร๎อมกับมีการลงทุนเพื่อสร๎างงานวิจัยระดับ
ขยายผล (Pilot Scale) ให๎รองรับการขยายผลสูํเชิงพาณิชย๑ได๎จริง หรือมีระดับความพร๎อมสําหรับการ
ผลิต (Manufacturing Readiness Level (MRL)) ควบคูํไปด๎วย ท๎ายที่สุดควรทําการวิจัยและ
พัฒนาการรวมกลุํมที่มีความต๎องการหรือโจทย๑ปัญหารํวมกัน และวางแผนการวิจัยครบทั้ง Value
Chain เพื่อให๎ได๎ผลลัพธ๑ที่นําไปใช๎ประโยชน๑ได๎จริง อาจจะนําตัวอยํางรูปแบบความรํวมมือด๎านการ
วิจัยที่แสดงในภาพที่ 4 มาปรับใช๎กับระบบการวิจัยของประเทศไทย
ที่มา: http://www.processum.se/en/sp-processum/our-projects/the-biorefinery-of-the-future
ภาพที่ 4 ตัวอยํางแนวทางของกลุํม Processum ในการพัฒนา Lignocellulose Biorefinery
X