Page 3 -
P. 3
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทคัดยํอ
บทคัดย่อ
ตั้งแตํอดีต จนถึงประมาณปี พ.ศ. 2443 เป็นชํวงเวลาที่เศรษฐกิจโลกขับเคลื่อนอยูํบนฐาน
ของธรรมชาติ หรือ Natural Economy และตั้งแตํปี พ.ศ. 2443 เป็นต๎นมาจนถึงปี พ.ศ. 2557การ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจอยูํบนพื้นฐานของฟอสซิล และปิโตรเลียม หรือที่เรียกวํา Fossil economy แตํ
หลังจากโลกต๎องเผชิญกับการเพิ่มขึ้นของประชากร ภาวะโลกร๎อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ สังคมจึงกําลังจะเปลี่ยนผํานจากเศรษฐกิจที่พึ่งพาฟอสซิลหรือน้ํามันปิโตรเลียมเป็นหลัก
ไปสูํเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด๎วยชีวมวล หรือที่เรียกวํา เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อ
ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
อยํางยั่งยืน โดยตัวจักรสําคัญในเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพแบํงออกเป็น 2 สํวนคือ 1) อุตสาหกรรม
อาหาร และ 2) อุตสาหกรรมที่ไมํใชํอาหาร ดังนั้นเพื่อกํอให๎เกิดดุลยภาพในอุตสาหกรรมระหวําง
อุตสาหกรรมอาหารและไมํใชํอาหาร และทําให๎ประเทศไทยสามารถหลุดพ๎นจากกับดักรายได๎ปาน
กลาง การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค๑เพื่อศึกษาสถานภาพปัจจุบันของงานวิจัยทั้งในประเทศและ
ตํางประเทศภายใต๎หลักการเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ และศึกษา สังเคราะห๑ เพื่อนําเสนอแนวทาง
งานวิจัยในอนาคตเบื้องต๎นภายใต๎หลักการเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพสําหรับประเทศไทย ด๎วยการ
ทบทวนวรรณกรรมงานวิจัยที่เกี่ยวข๎องกับอุตสาหกรรมภายใต๎หลักการเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ซึ่ง
หมายถึงการนําวัตถุดิบทางการเกษตรมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ๑ที่มีมูลคําเพิ่มขึ้น ทั้งของประเทศไทยและ
ตํางประเทศจากข๎อมูลทุติยภูมิ
จากการศึกษาด๎านนโยบายสามารถสรุปได๎วําแนวทางนโยบายด๎านเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ
ของประเทศมาเลเซียและประเทศเกาหลี เป็นแนวทางที่ควรนํามาปรับใช๎ในด๎านการจัดการการเกษตร
อุตสาหกรรม และการพัฒนานวัตกรรมตามลําดับ โดยประเทศไทยควรจะปรับจากการใช๎เศษเหลือ
ทางการเกษตร เป็นการจัดการด๎านการเกษตรสําหรับพืชเศรษฐกิจ 6 ชนิด ได๎แกํ ข๎าว มันสําปะหลัง
ยางพารา อ๎อย ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑ และปาล๑มน้ํามัน เพื่อผลิตสารเคมีแพลตฟอร๑ม ที่เป็นสารตั้งต๎นใน
อุตสาหกรรมชีวภาพมูลคําสูงอื่นๆ ได๎แกํ เคมีภัณฑ๑ที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม อุตสาหกรรมการเกษตร
และแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ เป็นต๎น ซึ่งสํวนใหญํเป็น
อุตสาหกรรมที่ไมํใชํอาหาร เมื่อพิจารณาจากปัจจัยปริมาณวัตถุดิบ ความต๎องการตลาดของสาร
แพลตฟอร๑ม การสนับสนุนด๎านนโยบาย ระดับความพร๎อมของเทคโนโลยี สามารถสรุป สาร
แพลตฟอร๑มที่ควรพัฒนาได๎ 4 ชนิด คือ กลีเซอรอล กรดแลคติก ซอร๑บิทอล และกรดซัคซินิกจาก
วัตถุดิบรุํนแรก (กลุํมน้ําตาลและคาร๑โบไฮเดรต) และวัตถุดิบรุํนที่ 2 (เซลลูโลส) ของข๎าว มันสําปะหลัง
อ๎อย ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑ และปาล๑มน้ํามัน
สําหรับแนวทางวิจัยและพัฒนาสําหรับวัตถุดิบรุํนแรก การวิจัยต๎นน้ําหรือการแปรรูปเบื้องต๎น
นั้นไมํมีความซับซ๎อนมากจึงไมํต๎องทําการวิจัยเพิ่มเติม แตํควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด๎านการเพิ่มผลผลิต
I