Page 161 -
P. 161
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ
4.4.2.1 การแปรรูปเศษเหลือทิ้ง (Residues) จากกระบวนการเตรียมวัตถุดิบ
เศษไม๎หรือเศษเหลือจากวัตถุดิบการเกษตรนั้นถือวําเป็นวัตถุดิบที่นําสนใจ เนื่องจากมีราคา
ถูกวัตถุดิบวิธีการดั้งเดิมในการผลิตเยื่อกระดาษคือการนําเศษเหลํานี้ไปเผาไหม๎โดยตรงเพื่อใช๎เป็น
ความร๎อนและพลังงานในโรงงาน กระบวนการทางเลือกสําหรับการใช๎ประโยชน๑เศษเหลือทิ้งเหลํานี้
สามารถแบํงออกเป็น 3 แบบ คือ 1. กระบวนการเชิงกล (Physical Process) ได๎แกํ เทคโนโลยีการ
อัดเม็ดเชื้อเพลิง (Pelletizing) 2.กระบวนการใช๎ความร๎อนรํวมกับเคมี (Thermo-Chemical
Process) ได๎แกํ เทคโนโลยี Gasification Combustion Torrefaction Pyrolysis และ
Liquefaction และ 3.กระบวนการทางชีวภาพรํวมกับเคมี (Bio-Chemical Process) ได๎แกํ
เทคโนโลยี Hydrolysis Fermentation ซึ่งแตํละกระบวนการก็จะให๎ผลิตภัณฑ๑หลากหลายแตกตําง
กันไป (Hamaguchi et al., 2012) (ภาพที่ 4.14) ข๎อเสียของการใช๎ประโยชน๑เศษเหลือทิ้งชีวมวล
เหลํานี้ คือ ปริมาณน้ําในตัววัตถุดิบที่สูง อยูํในชํวง 35% ถึง 60% (Lehtikangas, 2001) โดยคํา
ความชื้นนี้ขึ้นอยูํกับสภาพอากาศและระยะเวลาการจัดเก็บหลังจากตัดไม๎ ซึ่งในกระบวนการ
Pelletizing, Torrefaction, Gasification หรือ Pyrolysis วัตถุดิบที่ใช๎จําเป็นต๎องลดความชื้นลง
เหลือ 10% -15% ซึ่งโดยปกติจะไมํจําเป็นต๎องใช๎กับการเผาไหม๎โดยตรงในหม๎อไอน้ําที่มีประสิทธิภาพ
ดังนั้น จึงจําเป็นต๎องมีขั้นตอนการอบแห๎งเพื่อให๎เป็นไปตามข๎อกําหนดเพิ่มเข๎ามาด๎วย
ภาพที่ 4.14 กระบวนการทางเลือกสําหรับแปรรูปเศษเหลือทิ้ง (Residues) (Hamaguchi et al., 2012)
141