Page 165 -
P. 165
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ
ภาพที่ 4.19 การใช๎ประโยชน๑แบล็คลิกเคอร๑โดยผํานกระบวนการ Gasification (Chirstopher, 2013)
4.4.2.5 การประโยชน๑กากตะกอน (Sludge) ของเสียจากโรงงานเยื่อและกระดาษ
กากตะกอน (Sludge) ถือเป็นอีกหนึ่งของเสียหลักที่ผลิตขึ้นในโรงงานกระดาษ (มากถึง 50
กก. แห๎ง ของกากตะกอนปฐมภูมิ (Primary Sludge) ตํอ 1 ตันกระดาษ) ซึ่งกากตะกอนปฐมภูมินี้
อุดมไปด๎วยสารอินทรีย๑ ได๎แกํ สารประกอบคาร๑โบไฮเดรตในชํวง 20 -75% ขึ้นกับวัตถุดิบที่โรงงานใช๎
ผลิตกระดาษ แตํก็ยังคงประกอบไปด๎วยมีสารอนินทรีย๑จํานวนมาก เชํน ลิกนิน ดินเหนียว เถ๎า
และฟิลเลอร๑ เป็นต๎น (Boshoff, Gottumukkala, van Rensburg, & Görgens, 2016; Fan &
Lynd, 2007) ดังนั้นการตะกอนจากโรงงานกระดาษสามารถใช๎เป็นแหลํงวัตถุดิบเซลลูโลสสําหรับผลิต
พลังงานและสารเคมี เนื่องจากมีข๎อดีคือไมํจําเป็นต๎องมีขั้นตอนการ Pretreatment เพื่อให๎ได๎มาซึ่ง
เส๎นใยเซลลูโลส เนื่องจากในขั้นตอนการต๎มเยื่อกระดาษได๎กําจัดลิกนินออกไปแล๎วสํวนหนึ่งและได๎เปิด
โครงสร๎างเส๎นใยเซลลูโลสแล๎วทําให๎งํายตํอการกระทําด๎วยกระบวนการทางชีวเคมีหรือสารเคมีตํอไป
และทําให๎ประหยัดคําใช๎จํายในการทํา Pretreatment วัตถุดิบด๎วย อยํางไรก็ตาม ข๎อเสียคือ กาก
ตะกอนมีความแปรปรวนขององค๑ประกอบทางเคมีสูง ยังมีปริมาณเถ๎าสูงและมีความหนืด จึงเป็น
อุปสรรคสําคัญที่ควรได๎รับการแก๎ไขเพื่อให๎เกิด Bioconversion ของตะกอนกระดาษอยํางมี
ประสิทธิภาพ (Gottumukkala, Haigh, Collard, van Rensburg, & Görgens, 2016)
เทคโนโลยีการนํากากตะกอนจากโรงงานกระดาษมาใช๎ประโยชน๑โดยการแปรรูปเป็น
เชื้อเพลิงชีวภาพ หรือ สารเคมี ดังเชํนการแปรรูปชีวมวลหรือลิกโนเซลลูโลส ยังอยูํในระดับการวิจัยใน
ห๎องปฏิบัติการโดยเทคโนโลยีที่นํามาใช๎มีทั้ง Bioconversion, Thermochemical Technology,
หรือเทคโนโลยีรํวมระหวําง Biological และ Thermochemical Technology (ภาพที่ 4.20)
(Gottumukkala et al., 2016)
145