Page 163 -
P. 163

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                            บทที่  4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ


                         4.4.2.3 การแปรรูปเส๎นใยเซลลูโลส (Cellulose Pulp Fiber) สูํผลิตภัณฑ๑ที่มีมูลคําสูงขึ้น

                            เยื่อหรือเส๎นใยเซลลูโลสนอกจากการนําไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ๑กระดาษและบรรจุภัณฑ๑ที่เห็น
                   กันอยูํในปัจจุบัน ยังสามารถนํามาแปรรูปสูํผลิตภัณฑ๑ที่มีมูลคําสูงขึ้นดังแสดงในภาพที่ 4.16 (Babu,

                   O'Connor, & Seeram, 2013; "Roadmap 2015 - 2025 The pulp mill biorefinery," 2017)

                   เชํน เยื่อเซลลูโลสสําหรับสิ่งทอ (Dissolving  Pulp) เส๎นใยนาโนเซลลูโลสสําหรับผลิตภัณฑ๑ที่มี
                   คุณสมบัติพิเศษตํางๆ ซึ่งภายในปี 2563 คาดวําเส๎นใยนาโนเซลลูโลสจะถูกนํามาใช๎เป็นสารเสริมแรง

                   ในผลิตภัณฑ๑บรรจุภัณฑ๑กระดาษและเทอร๑โมพลาสติค และอาจนําไปใช๎ในอุตสาหกรรมอื่นๆได๎อีกใน
                   อนาคต ปัจจุบันเส๎นใยนาโนเซลลูโลสสามารถผลิตได๎แล๎วในระดับอุตสาหกรรม ("Road map 2015-

                   2025 Materials from nanocellulose," 2017) นอกจากนี้เส๎นใยเซลลูโลสจากกระบวนการคราฟท๑

                   ยังมีศักยภาพที่จะนํามาใช๎ในวัสดุ Bio-Based  Composites  ซึ่งสามารถนํามาใช๎ในผลิตภัณฑ๑ที่
                   หลากหลาย เชํน เฟอร๑นิเจอร๑ บรรจุภัณฑ๑ อุปกรณ๑กีฬา และอุปกรณ๑ทางการแพทย๑ ตัวอยําง

                   ผลิตภัณฑ๑ที่มีขายทางการค๎า เชํน ผลิตภัณฑ๑ Durapulp ที่พัฒนาโดยบริษัท Södra ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ๑
                   Biocomposite ที่เป็นการผสมระหวํางเยื่อเซลลูโลสกับ PLA (ศราวุธ เหมหมัด, 2558) (ภาพที่ 4.17)

























                            ภาพที่ 4.16 ผลิตภัณฑ๑ที่เป็นไปได๎จากเส๎นใยเซลลูโลส (Cellulose Pulp Fiber)



















                          ภาพที่ 4.17 ผลิตภัณฑ๑ Durapulp ที่พัฒนาโดยบริษัท Södra ("Durapulp," 2017)



                                                           143
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168