Page 156 -
P. 156
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ
นอกจากสารเคมีจากชีวมวลรุํนที่ 1 แล๎ววัตถุดิบประเภท Lignocellulose ยังนับเป็นแหลํงชีวมวล
สําคัญในการผลิตสารเคมี แม๎วําจะมีงานวิจัยจํานวนมากมุํงเน๎นในการนําชีวมวลกลุํมนี้มาใช๎ประโยชน๑ทั้งเพื่อ
การผลิต Cellulosic Ethanol และสารเคมีเชํน Sugar Alcohol ซึ่งใช๎เป็นสารให๎ความหวานแตํเทคโนโลยี
ยังคงอยูํในระดับห๎องปฏิบัติการ นอกจากนี้ข๎อจํากัดหลัก คือ ต๎นทุน เนื่องจาก Pretreatment จัดเป็น
ขั้นตอนที่มีราคาแพงในการเปลี่ยน Lignocellulose ให๎เป็นน้ําตาลชนิดตํางๆ เพื่อใช๎เป็นสารตั้งต๎นในการผลิต
สารเคมี (Chemical Building Blocks) ดังแสดงในภาพที่ 4.11 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับชีวมวลรุํนที่ 1 เชํน
อ๎อย กระบวนการเปลี่ยนเป็นน้ําตาลใช๎เพียงแคํวิธีทางกล หรือกรณีของแปูง เชํน ข๎าวโพด ข๎าวฟุาง และข๎าว
สาลี ที่ใช๎เอนไซม๑ในการเปลี่ยนแปูงเป็นน้ําตาล การทํา Pretreatment ของชีวมวล Lignocellulose ยังจัดวํา
มีความซับซ๎อนมาก แตํหากพิจารณาจากอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษจัดวําเป็นอุตสาหกรรมที่ใช๎กระบวนการ
Pretreatment เป็นหลักดังนั้นต๎นทุนและระดับความพร๎อมของเทคโนโลยีอาจไมํใชํปัญหาหลัก จึงอาจเป็นอีก
อุตสาหกรรมหนึ่งที่มีบทบาทในการผลิตสารเคมีจากชีวมวล
136