Page 155 -
P. 155

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                            บทที่  4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ


               4.3 แนวทางการผลิตสารเคมีพลังงานและสารเคมีจากชีวมวลในประเทศไทย

                       จากข๎อมูลอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข๎องกับการผลิตพลังงานและสารเคมีจากชีวมวลพบวําประเทศไทย
               ยังคงใช๎ชีวมวลรุํนที่ 1 ได๎แกํ อ๎อย และมันสําปะหลัง เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตพลังงานและสารเคมี ดังแสดง

               ในภาพที่ 4.10 สารชีวเคทีที่มีการผลิตในระดับอุตสาหกรรมของประเทศ ได๎แกํ กรดแลคติก กรดซิตริก กลีเซอ

               รีน  ไลซีน และซอร๑บิทอล  โดยเอกชนผู๎ผลิตมีทั้งบริษัทของประเทศไทย และบริษัทรํวมทุนจากตํางประเทศ
               เทคโนโลยีที่ใช๎ในปัจจุบันของประเทศไทยมีลักษณะเป็นแบบโรงกลั่นชีวภาพระยะที่ 1 เชํน ในกรณีที่วัตถุดิบ

               เริ่มต๎นเป็นน้ํามันปาล๑ม ซึ่งมีการนําไปใช๎ผลิตไบโอดีเซลและมีกลีเซอรีน เป็นผลผลิตพลอยได๎ แตํยังไมํมีการใช๎
               เทคโนโลยีเพิ่มเติมในการแปรรูปกลีเซอรีน  เป็นสารเคมีชนิดอื่นที่มีมูลคําเพิ่มขึ้น และในกรณีของกรดแลคติก

               ซึ่งเป็น  Novel  Bio-Based  Chemicals  ผู๎ผลิตหลักที่อยูํในประเทศไทยเป็นบริษัทข๎ามชาติจากประเทศ

               เนเธอร๑แลนด๑ (Corbion)     เนื่องจากสถานภาพเทคโนโลยีของประเทศไทยสํวนใหญํยังอยูํในระดับ
               ห๎องปฏิบัติการ ดังนั้นแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยีหรือเลือกใช๎เทคโนโลยีจากตํางประเทศที่มีอยูํเพื่อการ

               ผลิตสารเคมีจากชีวมวลของประเทศไทย จําเป็นต๎องพิจารณาหํวงโซํแหํงมูลคําวําสารเคมีที่สามารถผลิตได๎จะมี
               การนําไปใช๎ประโยชน๑อยํางไรในผลิตภัณฑ๑สุดท๎ายประเภทใด เพื่อชํวยในการกําหนดทิศทางวําอุตสาหกรรม

               การผลิตสารเคมีจากชีวมวลชนิดใดมีความพร๎อมมากที่สุดสําหรับประเทศไทย










































                          ภาพที่ 4.10 อุตสาหกรรมชีวภาพปัจจุบันที่มีในประเทศไทย (Bhumiratana, 2016 )




                                                           135
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160