Page 112 -
P. 112
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
เมื่อทําการศึกษาหํวงโซํอุปทานของพืชเศรษฐกิจ รํวมกับข๎อมูลการเพาะปลูก และข๎อมูลผลผลิต จะ
สามารถประมาณการผลผลิตและผลพลอยได๎หลักที่จะเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมของพืชเศรษฐกิจแตํละชนิด ได๎ดัง
รายละเอียดตํอไปนี้
หากทําการเปรียบเทียบข๎อมูลการเพาะปลูกของพืชเศรษฐกิจแตํละชนิด พบวํา ข๎าวมีการลดพื้นที่
เพาะปลูกลงอยํางเห็นได๎ชัดเจน ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑มีแนวโน๎มของพื้นที่เพาะปลูกลดลงเชํนกันแตํอยูํในอัตราที่ไมํมาก
นัก ในขณะที่ ยางพารา ปาล๑มน้ํามัน อ๎อยโรงงาน และมันสําปะหลัง มีแนวโน๎มการเพาะปลูกเพิ่มขึ้นตามลําดับ
(สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร, 2559) ดังแสดงแสดงรายละเอียดในตารางที่ 3.2
ตารางที่ 3.2 เปรียบเทียบข๎อมูลการปลูกพืชเศรษฐกิจแตํละชนิด ตั้งแตํปี 2555-2559
ชนิดพืช รายการ หน่วย 2555 2556 2557 2558 2559 อัตราเพิ่ม
(ร้อยละ)
ข๎าวรวม เนื้อที่ปลูก (ล๎านไรํ) 83.405 81.038 77.135 69.252 64.124 -6.6
อ๎อยโรงงาน เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล๎านไรํ) 8.01 8.26 8.46 8.76 8.91 2.75
มันสําปะหลัง เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล๎านไรํ) 8.513 8.657 8.431 8.961 8.92 1.29
ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑ เนื้อที่เพาะปลูก (ล๎านไรํ) 7.4 7.53 7.43 7.23 7.15 -1.09
ยางพารา เนื้อที่กรีดได๎ (ล๎านไรํ) 15.6 16.49 18.22 18.81 19.55 6
ปาล๑มน้ํามัน เนื้อที่ให๎ผล (ล๎านไรํ) 3.7 3.77 4.03 4.3 4.59 5.97
และจากข๎อมูลการเพาะปลูก และผลผลิตย๎อนหลัง 5 ปี ประกอบกับสัดสํวนของผลิตภัณฑ๑หลักและผลพลอย
ได๎จากการศึกษาหํวงโซํอุปทานของพืชเศรษฐกิจแตํละชนิด จะสามารถประมาณการปริมาณผลิตภัณฑ๑หลักและผล
พลอยได๎ ได๎ดังตํอไปนี้
1) ข๎าว
ข๎อมูลการเพาะปลูกข๎าว (สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร, 2559) จําแนกออกเป็น ข๎าวนาปี ข๎าวนาปรัง
และข๎าวรวม แตํในรายงานนี้จะใช๎ข๎อมูลคําเฉลี่ยเนื้อที่ปลูก และผลผลิตตํอไรํย๎อนหลัง 5 ปีของข๎าวรวม เพื่อ
ประมาณการปริมาณผลิตภัณฑ๑หลักและผลพลอยได๎จากข๎าว ซึ่งมีคําเฉลี่ยของพื้นที่ปลูกข๎าวเทํากับ 74.99 ล๎านไรํ
และผลผลิตตํอไรํเฉลี่ยเทํากับ 459.60 กิโลกรัมตํอไรํ ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 3.3
92