Page 59 -
P. 59

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                 คนทํางานชวยกัน แตในโรงงานขนาดใหญ คนงานจะทํางานที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น ไมขามแผนกกัน มี

                 ลักษณะเปนการแบงงาน (division of labor) มากขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงานใหสูงขึ้น แตความ

                 ยืดหยุนก็ลดลงดวยเชนกัน

                          3.4.2 การจัดการหวงโซอุปทาน (Supply chain management)

                          การจัดการหวงโซอุปทานเปนสวนหนึ่งของ Operations management ซึ่งประกอบดวย การ

                 จัดการการผลิต (Production management) (ที่กลาวถึงแลวในหัวขอ 3.4.1 ขางตน) และการจัดการหวง

                 โซอุปทาน (Supply chain management) กิจกรรมของการจัดการหวงโซอุปทานนั้นจะเริ่มตอจาก การกะ
                 ประมาณอุปสงค การกําหนดแผนการผลิตรวม การทํากําหนดเวลาการผลิต การจัดหาชิ้นสวน วัตถุดิบตางๆ

                 ที่ใชในการผลิต การควบคุมการผลิต การควบคุมสินคาคงคลัง และการกระจายสงสินคาไปยังลูกคา ทั้งนี้การ

                 จัดการหวงโซอุปทานมีวัตถุประสงคเพื่อ พัฒนาปรับปรุงระบบสารสนเทศในดานการบริหารกิจการใหดียิ่งขึ้น
                 เพื่อสนองความตองการของลูกคาใหดีขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงตางๆ ในการจัดซื้อ จัดหา วัตถุดิบและชิ้นสวน

                 ตางๆ ลดความเสี่ยงในขั้นตอนการผลิตและขั้นตอนการกระจายสินคาไปยังลูกคาลง


                          x  การจัดทําแผนการผลิตรวม

                          การจัดทําแผนการผลิตรวมของกิจการ เปนการนําขอมูลความตองการในอนาคตของสินคาตางๆ

                 ทุกชนิดที่โรงงานผลิตที่กะประมาณไวมาพัฒนาจัดทําแผนการผลิตรวมของกิจการสําหรับชวงเวลาหนึ่งเดือน

                 สามเดือน หรือ หนึ่งปขางหนา เปนแผนการผลิตที่กําหนดในเรื่องตางๆ เชนจํานวนการผลิตและอัตราการ
                 ผลิตตอหนึ่งชวงเวลา จํานวนแรงงานที่ตองใชทั้งหมดและตอหนึ่งชวงเวลา ทั้งนี้โดยพิจารณาใหสอดคลองกับ

                 ความตองการของลูกคาที่กะประมาณไวและกําลังการผลิตของเครื่องจักร อุปกรณตางๆ ของโรงงาน

                 นอกจากความตองการที่จะสนองความตองการของลูกคาหรือผูบริโภคแลว แผนการผลิตรวมจะตองพยายาม
                 ใหขนาดของสินคาคงคลังอยูในระดับต่ําที่สุด ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนแรงงาน และอัตราการใช

                 แรงงานตอหนึ่งชวงเวลาใหนอยที่สุด และมีการใชประโยชนกําลังการผลิตของโรงงานใหมากที่สุด

                          การวางแผนการผลิตรวม จะทําใหโรงงานสามารถทราบไดวา  ภายใตขอจํากัดตางๆ ที่กําหนดไว

                 นั้น จะมีขอจํากัดใดที่ทําใหไมสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวได (จะมีขอจํากัดใดเปนขอจํากัดจริง:

                 binding constraint บาง) เชน อาจมีขอจํากัดในเรื่องอุปกรณ หรือเครื่องมือชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือชางที่มี
                 ความชํานาญงานดานใดดานหนึ่งมีไมเพียงพอ หรือชิ้นสวนใดชิ้นสวนหนึ่งกําลังจะขาด เปนตน  กิจการจะได

                 หาทางปองกัน หรือแกปญหาชั่วคราวหรือถาวรกอนหนาที่จะเกิดปญหาจริงๆ ได

                          จากขอมูลการสํารวจ ไมพบวาโรงงานขนาดเล็กมีการจัดทําแผนที่เปนลายลักษณอักษร แตจะใช

                 การจดจํา จึงไมทราบวาจะสมบูรณมากนอยเทาใด สวนโรงงานขนาดใหญนาจะมีการจัดทําเพราะมีการผลิต

                 สินคาหลายชนิด ความตองการสินคาแตละชนิดเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล และมีบุคลากรที่มีการศึกษาสูงที่มี
                 ความสามารถที่จะจัดทําได อยางไรก็ตามการทําแผนการผลิตจะยึดคําสั่งซื้อเปนหลัก



                                                             49
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64