Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






              ราคารถเกี่ยวนวดขาวเปนเรื่องที่ยากพอสมควร เพราะในการผลิตตนทุนทั้งตนทุนคงที่และตนทุนผันแปรของ

              กิจการ แตกตางไปจากของกิจการอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตนทุนคงที่ในเรื่องที่ดิน โรงเรือน เครื่องจักร

              เครื่องมือ อุปกรณตางๆ ระดับความกาวหนาของเทคโนโลยีที่ใช แตกตางกันมาก อายุการใชงาน หรือ
              ระยะเวลาของการประกอบการก็แตกตางกันมาก นอกจากนั้นจํานวนการผลิตในแตละปก็แตกตางกัน หรือ

              การประหยัดอันเนื่องมาจากขนาด (Economies of scale) แตกตางกัน ที่ยุงยากขึ้นไปอีก คือ บาง

              โรงงานผลิตแตรถเกี่ยวนวดอยางเดียว บางโรงงานผลิตสินคาเครื่องจักรกลประเภทอื่นดวย โดยเฉพาะอยาง
              ยิ่งโรงงานขนาดใหญ ซึ่งทําใหสามารถกระจายตนทุนคงที่ไปยังผลิตภัณฑหรือสินคาชนิดอื่นๆ ดวย


                      จากการสังเกต ลักษณะของเสนตนทุนเฉลี่ย นาจะเปนเหมือนที่มีอยูในตําราเศรษฐศาสตร คือ เมื่อ
                                                                                              2
              ปริมาณการผลิตมีจํานวนไมมาก ตนทุนเฉลี่ยของกิจการที่มีสัดสวนการลงทุนในสินทรัพยคงที่ ต่ํา หรือมี
              Operating leverage ต่ํา จะต่ํากวาตนทุนเฉลี่ยของกิจการที่มีสัดสวนการลงทุนในสินทรัพยคงที่สูง หรือมี

              Operating leverage สูง ในทางตรงกันขาม เมื่อปริมาณการผลิตมากขึ้นเลยระดับหนึ่งขึ้นไปแลว ตนทุน
              เฉลี่ยของโรงงานหรือกิจการที่มีสัดสวนการลงทุนในสินทรัพยคงที่สูง จะต่ํากวา


                      ในสวนของประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการใชงาน (Perceived benefits) มีความยาก ลําบาก
              อยางยิ่งในการกะประมาณ เพราะมีทั้งสวนที่มีตัวตน (Tangible) และไมมีตัวตน (Intangible) สวนที่มีตัวตน

              คือรายไดที่เกิดขึ้นจากการใชงาน สวนที่ไมมีตัวตนคือ มูลคาตางๆ ของตัวสินคาที่เปน ลักษณะ (Features)

              ของ expected products, value added products และ potential products

                      ทั้งนี้ หากประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการใชงานของสินคาจากผูผลิตทุกรายใกลเคียงกัน ไม

              แตกตางกันมาก ดังนั้นการตั้งราคาจะขึ้นอยูกับระดับตนทุนเฉลี่ยของแตละกิจการ ซึ่งขึ้นอยูกับ ระดับของ
              Operating leverage และจํานวนการผลิต หรือ สวนแบงการตลาด (Market share) ของแตละกิจการ


                      หากเปนสินคาตัวใหม รุนใหม ที่ยังไมมีผูอื่นผลิต การตั้งราคาจะเปนแบบ Skimming the market

              คือตั้งราคาในระยะแรกสูงเพื่อสรางกําไรใหมากที่สุดเทาที่จะทําได (ไมสูงกวา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจาก
              การใชงาน) ตอมาเมื่อผูผลิตอื่นเริ่มทําการผลิตสินคาที่มีลักษณะใกลเคียงกันออกมา จึงคอยๆ ลดราคาลง

              เพื่อขยายสวนแบงการตลาดใหมากขึ้น การตั้งราคาในลักษณะนี้มักเปนการตั้งราคาของโรงงาน หรือผูผลิต
              ขนาดใหญที่มีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑสูง สวนผูผลิตขนาดเล็กที่ประกอบการมานาน

              พอสมควร ถึงแมจะมีการทําใหตัวสินคาแตกตางออกไป แตการตั้งราคามักจะตั้งแบบ competitive pricing

              และ cost - based pricing หรือ cost - plus pricing ผสมกันไป คือตั้งราคาโดยดูราคาสินคาของผูผลิตราย
              อื่นๆ ในตลาด ในขณะเดียวกันก็พยายามกําหนด และรักษาสวนเหลื่อมที่เหนือตนทุนการผลิตเอาไว และ

              ผูประกอบการขนาดเล็กหนาใหมจะตั้งราคาแบบ penetration pricing โดยจะตั้งราคาสินคาต่ํากวาผูผลิต

              รายอื่นๆ กอน เพื่อขอใหขายสินคาได ขอใหเกิดในตลาดกอน สวนการตั้งราคาในลักษณะที่เปน discount



              2  สินทรัพยคงที่ หมายถึง Fixed assets
                                                          20
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35