Page 19 -
P. 19
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การด าเนินงานขององค์กรชุมชน 4) มีบรรทัดฐานใกล้เคียงกัน 5) มีผลผลิตที่รวมกันแล้วมีปริมาณมากพอส าหรับการ
ท าธุรกิจขององค์กรชุมชน และผลผลิตนี้เป็นรายได้ส าคัญของสมาชิก
การศึกษาครั้งนี้พบว่าเหตุผลส าคัญที่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้าข้ามาเป็นสมาชิกองค์กรชุมชน ได้แก่ 1)
การเข้ามาเพื่อให้สามารถซื้อปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพได้ในราคาที่ต ่าลง โดยอาศัยบริการปัจจัยการผลิตที่องค์กร
ชุมชนจัดให้ ดังที่ กลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผู้เลี้ยงปลากะพง จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุง สหกรณ์ผู้
เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าสามร้อยยอด-ปราณบุรี จ ากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าท่าทอง จ ากัด และ สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าปาก
พนัง จ ากัด ได้ให้บริการด้านนี้แก่สมาชิก 2) การเข้ามาเพื่อขายผลผลิตผ่านองค์กรชุมชน มีตลาดรองรับ และขายได้
ราคาที่ดีขึ้น กลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผู้เลี้ยงปลากะพง จังหวัดฉะเชิงเทรา สหกรณ์ประมงพาน จ ากัด สหกรณ์ผู้
เพาะเลี้ยงและแปรรูปสัตว์น ้านครนายก จ ากัด และ สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งที่ศึกษาในครั้งนี้มีการให้บริการด้านนี้ แต่ในช่วงที่
มีปัญหากุ้งตายในระยะต้น สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลดบริการด้านนี้ลง เนื่องจากความไม่แน่นอนในผลผลิตที่จะได้จากสมาชิก
3) การเข้ามาเพื่อร่วมมือกันสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรด้วยกัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายเล็ก การรวมกลุ่ม
ช่วยเพิ่มสมรรถนะให้แก่เกษตรกรได้ดีกว่าการด าเนินการเพียงล าพัง กลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุง สหกรณ์ประมง
พาน จ ากัด ให้ความส าคัญแก่การจัดองค์กรชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกร ในสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งสี่แห่งที่
ศึกษา สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งที่ให้ความส าคัญแก่เหตุผลข้อนี้มากที่สุดคือ สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าปากพนัง จ ากัด องค์กร
ชุมชนที่สมาชิกให้ความส าคัญแก่การร่วมกันสร้างความเข้มแข็ง มักจะเป็นองค์กรที่สามารถด าเนินการได้ดี ประสบ
ความส าเร็จ เนื่องจากสมาชิกจะมีความตระหนักในความเป็นเจ้าขององค์กรชุมชนร่วมกัน อันน าไปสู่การให้ความ
ร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันท างานให้แก่องค์กร ร่วมคิดร่วมท า ยินดีเข้ามามีส่วนร่วมกับองค์กรชุมชนของตน
เพื่อให้สมาชิกมีลักษณะตามที่กล่าวมาข้างต้น ควรมีการให้ความรู้ความเข้าใจให้สมาชิกต้องมีความรู้สึกเป็น
เจ้าขององค์กรชุมชน ร่วมคิดและร่วมท า แก่ผู้ที่เข้าเป็นสมาชิกองค์กรชุมชน ทั้งสมาชิกที่เข้ามาเมื่อเริ่มก่อตั้งและ
สมาชิกที่รับเข้ามาภายหลัง ทั้งนี้องค์กรชุมชนควรขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สหกรณ์จังหวัด กรม
ส่งเสริมสหกรณ์ และกรมพัฒนาชุมชน ในการให้ความรู้นี้แก่สมาชิก ซึ่งท าได้ในรูปการให้การจัดประชุมชี้แจงและ
ฝึกอบรม
การที่สมาชิกมีบรรทัดฐานที่ใกล้เคียงกัน ทั้งในด้าน พื้นเพ ความเป็นอยู่ การด ารงชีพ วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี จริยธรรม การศึกษา และฐานะทางการเงิน จะท าให้มีแนวโน้มว่าสมาชิกจะสามารถท างาน
ร่วมกันได้สะดวก มีความเข้าใจระหว่างกันได้ดี ส่งผลให้สมาชิกยินดีเข้ามาร่วมงานกับองค์กรชุมชน ในกรณีที่สมาชิกมี
ความหลากหลาย บรรทัดฐานไม่ใกล้เคียงกัน องค์กรชุมชนควรจัดกิจกรรมเพื่อให้สมาชิกได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น ตลอดจนพบปะสังสรรค์ เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกด้วยกัน
องค์กรชุมชนผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้าควรประสานงานขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานของกรมประมงในพื้นที่ที่
เกี่ยวข้อง ขอความสนับสนุนในการสร้างเสริมสมรรถนะของเกษตรกรในการเลี้ยงสัตว์น ้า ตลอดจนความสนับสนุนใน
การจัดหาหรือให้ค าแนะน าการเลือกใช้ปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพ ทั้งพันธุ์ และ อาหารสัตว์น ้า และขอความร่วมมือจาก
หน่วยงานของรัฐในการจัดสรรน ้าและรักษาคุณภาพน ้า เพื่อการเพาะเลี้ยง
แนวทางการพัฒนาผู้น าองค์กรชุมชน ลักษณะของผู้น าองค์กรชุมชน ที่ควรมี ประกอบด้วยหกประการ
ดังนี้ 1) มีความซื่อสัตย์ เป็นธรรม 2) มีเวลาท างานให้องค์กรชุมชน 3) มีความรู้ ทั้งในการเลี้ยง และ การขายสัตว์น ้า 4)
มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถท าความเข้าใจกับสมาชิก และ สามารถประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสียในพื้นที่ได้ 5) มีความมุ่งมั่นในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กรชุมชน 6) เป็นที่ยอมรับในหมู่สมาชิก
xix