Page 25 -
P. 25
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2-2
ตารางที่ 2-1 ระยะเวลาในการครองราชยของรัชกาลตางๆ
รัชกาลที่ กษัตริยไทย พ.ศ.
1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก 2325-2352
2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย 2352-2367
3 พระบาสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 2367-2394
4 พระบาสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว 2394-2411
5 พระบาสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 2411-2453
6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว 2453-2468
7 พระบาสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว 2468-2477
8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล 2477-2489
9 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช 2489–2559
ที่มา : คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร 200 ป (2525ก, 2525ข)
2.2 รัฐบาลและระยะเวลาการบริหารประเทศหลัง พ.ศ. 2475
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมา
เปนระบอบประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดและมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใต
รัฐธรรมนูญ (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร 200 ป, 2525ข: 258)
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2559) ไดมีรัฐบาลเขามา
บริหารประเทศรวม 61 คณะ ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-2
การแบงการปกครองออกเปน 2 ระยะ นั้นเนื่องจากที่มาของอํานาจในการกําหนดนโยบายได
เปลี่ยนแปลง จากอํานาจของพระมหากษัตริยเปนอํานาจของราษฎร ดังที่ปรากฏในพระราชบัญญัติ
1)
ธรรมนูญ การปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 มาตรา 1 มาตรา 2 และมาตรา 7 ดังนี้
“มาตรา 1 อํานาจสูงสุดของประเทศนั้นเปนของราษฎรทั้งหลาย
มาตรา 2 ใหมีบุคคลและคณะบุคคลดั่งจะกลาวตอไปนี้เปนผูใชอํานาจแทนราษฎรตามที่
จะไดกลาวตอไปในธรรมนูญ คือ
1. กษัตริย
2. สภาผูแทนราษฎร
3. คณะกรรมการราษฎร
4. ศาล
มาตรา 7 การกระทําใดๆ ของกษัตริยตองมีกรรมการราษฎรผูหนึ่งผูใดลงนามดวย โดย
ไดรับความยินยอมของคณะกรรมการราษฎรจึงจะใชได มิฉะนั้นเปนโมฆะ”
---------------------------------------------
1) ราชกิจจานุเบกษา เลม 49 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2475