Page 19 -
P. 19

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     1-1





                                                         บทที่ 1

                                                          บทนํา


                 1.1 ที่มาและความสําคัญ

                        ในชวงปลายป 2554 ไดเกิดอุทกภัยที่รุนแรงขึ้นในพื้นที่ภาคเหนือตอนลางและภาคกลางของประเทศไทย
                 สรางความเสียหายมีมูลคาสูงถึง 1.4 ลานลานบาท (เดือนเดน นิคมบริรักษ, 2558: 4)  หลังจากนั้นเพียง  3 ป
                 ในปลายป 2557  ถึงกลางป 2558  ก็ไดเกิดภัยแลงอยางรุนแรงขึ้นในพื้นที่บางสวนของประเทศทั้งใน
                 ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ที่ขาดแคลนน้ําจนไมสามารถทํานาปไดสงผลตอระบบ

                 เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ วิกฤติน้ําที่เกิดขึ้นอยางรุนแรงทั้งอุทกภัยและภัยแลงนี้ไดรับความสนใจจาก
                 สังคมไทยวาวิกฤติดังกลาวเกิดขึ้นดวยสาเหตุใด เปนเพราะการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศหรือเกิดจาก
                 นโยบายการบริหารจัดการน้ําที่ผิดพลาดอยางใดอยางหนึ่งหรือเปนผลรวมของสาเหตุทั้ง 2 ประการ

                        หากพิจารณาถึงสาเหตุทั้ง 2 ประการที่กลาวขางตนแลว  การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทั้งฝนตกมาก
                 จนน้ําทวมหรือฝนตกนอยสงผลใหเกิดภัยแลงนั้นเปนปจจัยที่ไมสามารถจะควบคุมได แตนโยบายนั้น
                 สามารถกําหนดขึ้นเพื่อรองรับสถานการณอุทกภัยและภัยแลงดังกลาวไดตามควรแกกรณี อยางไรก็ตามจาก
                 การศึกษาในอดีตของสถาบันและนักวิชาการตางๆ  เชน  สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2544: ก)
                 กัมปนาท ภักดีกุล (2554: 24)  คณะกรรมการยุทธศาสตรเพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

                 (2555: 1) พบวานโยบายน้ําในอดีตไมมีเอกภาพและไมมีการบูรณาการควรมีการแกไข    แมแตยุทธศาสตร
                 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา (ป พ.ศ. 2558-2569)  ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558
                 ก็ยังคงมีขอสังเกตจากผูมีสวนไดเสียวาไมมีรายละเอียดโครงการและการลงทุน (สิทธิณี หวงนาค, 2558: B-12)

                 ประกอบกับในขณะนี้เขื่อนใหญ 4  เขื่อน ที่สงน้ําใหกับลุมน้ําเจาพระยามีน้ําในเขื่อนนอยมากเหมือนชวง
                 เริ่มตนที่เขื่อนเพิ่งจะกอสรางแลวเสร็จและเริ่มสะสมน้ํา ซึ่งอาจจะใชเวลาหลายปเพื่อใหมีปริมาณเก็บกัก
                 ตามที่ไดกําหนดไว จึงมีความจําเปนที่จะตองทบทวนวานโยบายน้ําในอดีตนั้น ไดกําหนดไวอยางไรเพื่อ
                 รองรับสถานการณที่ผานมา ซึ่งอาจจะตองกําหนดนโยบายน้ําในอนาคตขึ้นใหม เมื่อศึกษาเบื้องตนพบวารัฐ

                 ไทยไดกําหนดนโยบายน้ํามาเปนเวลาชานานตั้งแตกรุงสุโขทัยจนถึงปจจุบัน แตนโยบายน้ําดังกลาวนี้มีที่มา
                 จากหลายแหลง  ทั้งจากกฎและระเบียบ คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                 และสังคมแหงชาติฉบับตางๆ มติคณะรัฐมนตรี และแผนบริหารราชการแผนดิน เปนตน นโยบายน้ําเหลานี้ไม
                 มีการรวบรวมไวในที่เดียวกัน การคนควาและศึกษาจึงใชเวลามาก และไมครบถวนตอการนําบทเรียนใน

                 อดีตมาวิเคราะหเพื่อประกอบการตัดสินใจหากจะกําหนดนโยบายขึ้นในอนาคตจึงมีความจําเปนที่จะตอง
                 จัดทําฐานขอมูลนโยบายน้ําขึ้นเพื่อใชประโยชนในการคนควา และเปนเอกสารอางอิง ตลอดจนเปนการบันทึก
                 ประวัติศาสตรการกําหนดนโยบายในอดีตจนถึงปจจุบันวาเปนมาอยางไรอีกประการหนึ่งดวย

                 1.2 วัตถุประสงค
                        1.2.1 เพื่อรวบรวมนโยบายน้ําที่ไดกําหนดขึ้นจากอดีตถึงปจจุบัน
                        1.2.2 จัดทําฐานขอมูลนโยบายน้ําเรียงตามลําดับเวลาในลักษณะจดหมายเหตุเพื่อใหอนุชนใช

                 คนควาและอางอิง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24