Page 14 -
P. 14
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทคัดยอ
โครงการวิจัยเรื่อง “นโยบายน้ําไทย : ฐานความรูเพื่ออนาคต” มีวัตถุประสงคหลัก 5 ดาน คือ (1)
เพื่อรวบรวมนโยบายน้ําที่ไดกําหนดขึ้นจากอดีตถึงปจจุบัน (2) จัดทําฐานขอมูลนโยบายน้ําเรียงตามลําดับ
เวลาในลักษณะจดหมายเหตุเพื่อใหอนุชนใชคนควาและอางอิง (3) เพื่อศึกษา สาเหตุของปญหาและปจจัยที่
เปนสาเหตุใหนโยบายน้ําที่กําหนดขึ้นในชวงเวลาตางๆ มีความสอดคลองหรือเปลี่ยนแปลง รวมทั้งผลที่
เกิดขึ้นจากนโยบาย (4) เพื่อศึกษาสถานการณทรัพยากรน้ําและการบริหารจัดการในปจจุบัน (5) เพื่อเสนอ
ประเด็นสําคัญที่จะนําไปใชในการกําหนดนโยบายน้ําเพื่ออนาคต
ผลจากการวิจัยพบวาจากหลักฐานที่ปรากฏในประวัติศาสตรของไทยนั้น รัฐไทยไดมีการกําหนด
นโยบายน้ํามาอยางตอเนื่องตั้งแตสมัยสุโขทัย เมื่อ พ.ศ. 1762 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2559) โดยเริ่มตนจาก
น้ําเพื่อการเกษตรและอุปโภคบริโภค และไดขยายไปสูการใชน้ําเพื่อกิจกรรมอื่น ในเวลาตอมาตามการ
เปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทั้งนี้นโยบายน้ําที่กําหนดขึ้นในอดีตถึงปจจุบันนั้น
สรุปไดวามีวัตถุประสงคหลักเพื่อแกไขปญหาทรัพยากรน้ํา 3 ประการ คือ (1) การขาดแคลนน้ําหรือภัยแลง
(2) อุทกภัย และ (3) คุณภาพน้ํา สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่กําหนดขึ้นในอดีตถึงปจจุบัน ถึงแมจะไมมี
เอกภาพแตมีสาระสําคัญที่ไมแตกตางกันมากนัก เพราะสวนใหญแลวเนนการแกปญหาทั้ง 3 ประการนี้
โดยเฉพาะการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ําจะแตกตางกันเพียงแตการขับเคลื่อนหรือการจัดทําแผนปฏิบัติการ
ขึ้นรองรับนโยบาย แตปญหาทั้ง 3 ประการยังคงมีอยูและมีแนวโนมวาจะรุนแรงยิ่งขึ้น เนื่องจากมีสาเหตุ
ของปญหา 5 ประการ คือ (1) การเมืองที่ขาดเสถียรภาพและแรงผลักดันในการแกไขปญหาอยางจริงจัง (2)
เงื่อนไขทางสังคมที่ขาดการมีสวนรวมของประชาชนจึงมีการตอตานโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ําของรัฐ (3)
การขาดแคลนงบประมาณที่จะดําเนินการพัฒนาทรัพยากรน้ํา (4) มีสถาบันหรือหนวยงานที่เกี่ยวของกับ
ทรัพยากรน้ําจํานวนมาก แตขาดการบูรณาการและหนวยงานที่เปนกลางในการจัดทําแผนเปนการเฉพาะ และ (5)
ขาดขอมูลทางวิชาการที่เปนที่ยอมรับของสังคมที่จะนําไปสูการพัฒนาทรัพยากรน้ํารวมทั้งการเตือนภัยพิบัติ
โดยเฉพาะระบบฐานขอมูลน้ํา โดยสาเหตุหลักแลวปญหาทั้ง 5 ประการนี้มาจาก “โครงสรางการบริหาร
จัดการทรัพยากรน้ําที่ไมเหมาะสมตอการแกปญหา” คณะวิจัยจึงไดเสนอแนวทางการแกไขปญหาโดยใหมี
โครงสรางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบ “ประชารัฐ” โดยใชหลักการมีสวนรวมในการบริหารจัดการน้ํา
ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน และมีโครงสรางการบริหารจัดการที่สําคัญคือ คณะกรรมการ
ทรัพยากรน้ําแหงชาติ (กนช.) สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ศูนยขอมูลน้ํา
แหงชาติ คณะกรรมการลุมน้ํา และคณะอนุกรรมการลุมน้ําสาขา โดยมีเงื่อนไขวาทั้งหลักการและโครงสราง
การบริหารจัดการดังกลาวนี้ปรากฎเปนบทบัญญัติในกฎหมายแมบททรัพยากรน้ําแหงชาติ
ฏ