Page 8 -
P. 8

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                                                           2
                  ตารางที่ 3 ผลเปรียบเทียบความต้องการใช้น้้า Blue water ของพืชที่ส้าคัญของไทย

                                         ค่าเฉลี่ยความต้องการใช้น้้า blue
                                                                                        ช่วง
                     พืชเศรษฐกิจที่                   water                    (ลบ.ม. blue water/ตัน
                         ส้าคัญ          (ลบ.ม. blue water/ตันผลิตภัณฑ์)            ผลิตภัณฑ์)

                                           ฤดูแล้ง            ฤดูฝน

                  ข้าวนาปี                    -                466               284 (N) – 928 (S)
                  ข้าวนาปรัง                1,107               -               915 (S) – 1,571 (NE)

                  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์         808                -                672 (N) – 921 (NE)
                  มันส้าปะหลัง               65                10                  54 (N) – 98 (C)

                  อ้อย                       23                11                 22 (N) – 49 (NE)

                  ปาล์มน้้ามัน*           331 (846)          61 (59)             199 (S) – 2,114 (N)
                  ถั่วเหลือง                1,542               -              1,461 (C) – 1,790 (NE)

                  ถั่วเขียว                 1,856              14               89 (S) – 3,804 (NE)
                  มะพร้าว                    819               110              587 (S) – 1,177 (NE)

                  สัปปะรด                    234               32                172 (S) – 326 (C)
                  ถั่วลิสง                  1,367               6               208 (S) – 2,063 (NE)

                  หมายเหตุ: N: ภาคเหนือ; NE: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ; S: ภาคใต้; C: ภาคกลาง
                  *ค่าเฉลี่ยความต้องการใช้น้้า Blue water ต่อตันผลผลิตปาล์มน้้ามัน 331 และ 61 ลบ.ม./ตันค้านวณมาจากค่าเฉลี่ย
                  ไม่นับรวมภาคตะวันภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ขณะที่ค่าในวงเล็บ คือ 846 และ 59 ลบ.ม./ตัน เป็น
                  ค่าเฉลี่ยนับรวมทุกภาค


                  2.3   ผลการประเมินผลิตภาพด้านน้้า (Water productivity)

                         ตารางที่ 4 แสดงผลเปรียบเทียบผลิตภาพด้านน้้าของพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ โดยอ้างอิงจาก

                  ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ปี 2553/2554 และรายได้สุทธิของเกษตรกร (หลังหักต้นทุนการ

                  ผลิต) จากผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรเทียบต่อปริมาณความต้องการใช้น้้าชลประทาน จากผลการประเมิน
                  พบว่าพืชที่ให้ผลิตภาพด้านน้้าสูงมีหลายชนิด เช่น มันส้าปะหลัง อ้อย สับปะรด และถั่วเขียว แต่
                  อย่างไรก็ตามค่าผลิตภาพดังกล่าวย่อมแปรเปลี่ยนไปตามปัจจัยหลายด้าน โดยเฉพาะด้านราคาสินค้า

                  เกษตรซึ่งขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น สภาพอากาศในแต่ละปี โรคระบาด และความต้องการในตลาด








                  2  ข้อมูลในตารางที่ 3 แสดงเฉพาะค่าความต้องการใช้น้้าชลประทาน หรือ Blue water ของพืชเท่านั้น จึงมีค่าน้อย
                  กว่าค่าความต้องการใช้น้้ารวมของพืชในตารางที่ 2
                                                                                                         ๔
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13