Page 12 -
P. 12

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                  ข้างต้น และประเมินหาพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดความตึงเครียดด้านน้้าสูงเมื่อโรงงานเอทานอลได้
                  ด้าเนินการผลิตเอทานอลตามเป้าหมาย โดยอาศัยตัวชี้วัดที่เรียกว่า Water deprivation (หน่วย: ลบ.

                  ม.เทียบเท่า) ซึ่งค้านวณได้จากค่าความตึงเครียดด้านน้้า (WSI) และค่า Blue WF ของการผลิตเอทา-
                  นอลในแต่ละพื้นที่ที่ตั้งโรงงาน โดยผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้


                           ตารางที่  7 แสดงค่า WF  ของผลิตภัณฑ์เอทานอลจากมันส้าปะหลัง อ้อย และกากน้้าตาล

                  โดยพิจารณาตลอดสายโซ่การผลิต ตั้งแต่การปลูกพืชวัตถุดิบ การแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตร และ
                  การผลิตเอทานอลในอุตสาหกรรม โดยผลการศึกษาพบว่าเอทานอลจากมันส้าปะหลังมีค่า Total WF

                  สูงที่สุด ตามด้วยเอทานอลจากกากน้้าตาลและอ้อยตามล้าดับ แต่หากพิจารณาเฉพาะความต้องการ
                  ใช้น้้าชลประทาน จะพบว่าการผลิตเอทานอลจากกากน้้าตาลจะมีความต้องการใช้ชลประทานสูงที่สุด

                  เมื่อเทียบกับเอทานอลจากอ้อยและมันส้าปะหลัง อย่างไรก็ตามในปัจจุบันพื้นที่ปลูกมันส้าปะหลังและ
                  อ้อยส่วนใหญ่อยู่นอกเขตชลประทาน ดังนั้นค่าการใช้น้้าชลประทานที่แท้จริงในปัจจุบันของอ้อยและ

                  มันส้าปะหลังจะมีค่าต่้ากว่าผลที่ได้ในตารางที่ 7

                  ตารางที่ 7 ค่า WF ของเอทานอลจากมันส้าปะหลัง อ้อย และกากน้้าตาลในประเทศไทย

                                                          ค่า Water footprint (ลิตรน้้า/ลิตรเอทานอล)
                        ผลิตภัณฑ์เอทานอล
                                                            Total WF                     Blue WF

                  เอทานอจากมันส้าปะหลัง                   2,372 – 2,579                  499 - 566
                  เอทานอลจากอ้อย                          1,396 – 2,196                  490 - 859

                  เอทานอลจากกากน้้าตาล                    1,976 – 3,105                 699 – 1,220

                           ตารางที่ 8 แสดงปริมาณความต้องการใช้น้้าต่อปีเพื่อการผลิตเอทานอล 9 ล้านลิตรต่อวัน
                  ตามเป้าหมายของรัฐบาลในปี 2564 จ้าแนกตามประเภทของการผลิตเอทานอล โดยพบว่าจะมีความ

                  ต้องการใช้น้้ารวมเพิ่มขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 8,185  ล้านลบ.ม./ปี โดยเป็นน้้าชลประทานที่ต้องการเพิ่ม
                  สูงขึ้นเท่ากับ 1,625 ล้านลบ.ม./ปี หรือเทียบกับเท่ากับร้อยละ 3 ของความจุใช้การ (active storage)

                  ของไทยในปัจจุบัน และหากจ้าแนกตามพื้นที่ลุ่มน้้า จะพบว่าลุ่มน้้าที่มีความต้องการใช้น้้าชลประทาน
                  เพิ่มสูงขึ้นมากที่สุดได้แก่ ลุ่มน้้ามูล ตามด้วยลุ่มน้้าชี และลุ่มน้้าปราจีนบุรี ตามล้าดับ (ดังรูปที่ 4)  และ

                  หากประเมินถึงโอกาสการเกิดผลกระทบด้าน Water  deprivation อันเนื่องมาจากการใช้น้้าที่เพิ่ม
                  สูงขึ้น จะพบว่าจะมีโอกาสเกิดมากที่สุดในส่วนของลุ่มน้้ามูล ตามด้วยลุ่มน้้าชี และลุ่มน้้าท่าจีน

                  ตามล้าดับ (ดังรูปที่ 5)











                                                                                                         ๘
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17