Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                         บทคัดย่อ

                         ความต้องการอาหารที่เพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร และการขยายตัวอย่าง

                  รวดเร็วของการผลิตและการใช้พลังงานชีวมวลในช่วงที่ผ่านมา ก่อให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับความตึง
                  เครียดด้านน้้าซึ่งจัดเป็นทรัพยากรที่ส้าคัญอย่างยิ่งส้าหรับประเทศไทยซึ่งมีอุตสาหกรรมการเกษตรเป็น

                  พื้นฐาน โดยเป็นแหล่งผลิตอาหารเพื่อการบริโภคทั้งภายในประเทศและส่งออก รวมถึงเป็นแหล่งผลิต
                  วัตถุดิบเพื่อใช้ส้าหรับการผลิตอาหารสัตว์ และเชื้อเพลิง (เชื้อเพลิงชีวภาพ) การศึกษานี้จึงได้

                  ประยุกต์ใช้แนวคิดของวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ (Water footprint: WF) เพื่อประเมินหาปริมาณการใช้น้้าของ
                  พืชอาหาร อาหารสัตว์ และเชื้อเพลิงที่ส้าคัญในประเทศไทย พร้อมกับการประเมินหาตัวชี้วัดความตึง

                  เครียดด้านน้้า (Water stress index: WSI) ของ 25 ลุ่มน้้าที่ส้าคัญของไทยเพื่อใช้ส้าหรับบ่งชี้ถึงโอกาส
                  การเกิดการแย่งชิงทรัพยากรน้้าที่มีอยู่อย่างจ้ากัดในแต่ละพื้นที่ ซึ่งแผนที่ความตึงเครียดด้านน้้า (Water

                  stress map) ที่ได้จากการศึกษาบ่งชี้ว่าลุ่มน้้าที่มีค่าตัวชี้วัดความตึงเครียดด้านน้้าสูงที่สุด คือ ลุ่มน้้ามูล
                  ตามด้วยลุ่มน้้าชี เจ้าพระยา และท่าจีน ตามล้าดับ ขณะที่ผลการประเมินค่าความต้องการใช้น้้าของพืช

                  เศรษฐกิจที่ส้าคัญจ้านวน 10 ชนิด เช่น ข้าว มันส้าปะหลัง อ้อย ปาล์มน้้ามัน และถั่วเหลือง เป็นต้น
                  พบว่าจะมีค่าแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละพื้นที่ซึ่งเกิดจากหลายปัจจัยด้วยกัน


                         การศึกษานี้ยังได้ท้าการประเมินถึงโอกาสของการเกิดผลกระทบด้านการตึงเครียดและการ
                  แย่งชิงน้้า (Water deprivation impact) อันเนื่องมาจากนโยบายการผลิตและการใช้เอทานอลของไทย

                  ซึ่งผลการศึกษาพบว่า WF ของเอทานอลมีค่าอยู่ระหว่าง 1,396-3,105  ลิตรต่อลิตรเอทานอล โดยเอ
                  ทานอลจากมันส้าปะหลังมีค่า WF  สูงที่สุดตามด้วยเอทานอลจากกากน้้าตาลและอ้อย อย่างไรก็ตาม

                  หากพิจารณาเฉพาะความต้องการใช้น้้าชลประทาน (Blue WF) เอทานอลจากกากน้้าตาลมีค่า Blue
                  WF  สูงสุด คือ 699-1,220  ลิตร/ลิตรเอทานอล ขณะที่เอทานอลจากมันส้าปะหลังและอ้อยจะมีค่า

                  ใกล้เคียงกันคือในช่วง 449-566  และ  450-859  ลิตร/ลิตรเอทานอล ตามล้าดับ และเพื่อให้สามารถ
                  ผลิตวัตถุดิบได้พอเพียงส้าหรับเป้าหมายของแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนในปี 2021 พบว่า จะมี

                  ความต้องการน้้าชลประทานเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 1,625 ล้าน ลบ.ม. หรือคิดเป็นร้อยละ 3 ของปริมาณ
                  น้้าชลประทานที่ใช้การได้ในปัจจุบัน โดยมีลุ่มน้้ามูลและชี ซึ่งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่

                  โอกาสเกิดความตึงเครียดด้านทรัพยากรน้้าสูงอันเนื่องมาจากการส่งเสริมการผลิตเอทานอลของไทย

                         กล่าวโดยสรุป การประเมินวอเตอร์ฟุตพริ้นท์และตัวชี้วัดความตึงเครียดด้านน้้า เป็นเครื่องมือ
                  ที่ส้าคัญส้าหรับการบ่งชี้ถึงพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดความตึงเครียดด้านน้้าสูงอันเกิดจากการขยายตัวของ

                  กิจกรรมในภาคการเกษตรในอนาคต รวมถึงช่วยในการประเมินหามาตรการส้าหรับการวางแผนและ
                  จัดการทรัพยากรน้้าเพื่อการผลิตอาหาร อาหารสัตว์ และพลังงานอย่างยั่งยืนในอนาคต โดย

                  โครงการฯ ได้น้าเสนอมาตรการต่างๆ ที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพด้านน้้าและการจัดการ
                  ทรัพยากรน้้าส้าหรับการเกษตรของไทย อันจะช่วยบรรเทาปัญหาการเกิดความตึงเครียดหรือการแย่ง
                  ชิงน้้าส้าหรับการผลิตอาหาร อาหารสัตว์ และพลังงานในอนาคต
   1   2   3   4   5   6   7   8