Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







               ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากมันสำ�ปะหลังที่พัฒนาในโครงการนี้�ประกอบด้วย




                            ผลิตภัณฑ์จากฟลาวมันสำ�ปะหลังที่ผลิตจากมันสำ�ปะหลังพันธุ์โรงงาน
                            พัฒนาโดย รองศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ แจ้งชัด ได้แก่

                                           มินิวาฟเฟิลมันสำาปะหลัง

                                           3 รสชาติ คือ รสนมเนย รสชาเขียว และรสบลูเบอร์รี





                            ผลิตภัณฑ์จากมันสำ�ปะหลังพันธุ์พิรุณ�2�
                            พัฒนาโดย ผศ.ดร. ศศิธร ตรงจิตภักดี นางสาวพิสมัย ศรีชาเยช

                            นางสาวสุภัคชนม์ คล่องดี และนางสาววราภรณ์ ประเสริฐ ได้แก่
                            ไอศกรีมมันสำาปะหลัง
                            3 รสชาติ คือ รสนมสด รสคุกกี้แอนด์ครีม และรสชาเขียว


                                      มันสำาปะหลังอบกรอบ

                                      3 รสชาติ ได้แก่ รสช็อกโกแลต รสสตรอว์เบอร์รี และรสชาเขียว


                                     มันสำาปะหลังบอล 3 รสชาติ ได้แก่ รสช็อกโกแลต รสสตรอว์เบอร์รี และรสนม



             �      ฟลาวมันสำ�ปะหลัง
                     ฟลาวมันสำาปะหลัง (cassava flour) คือ แป้งดิบที่ยังไม่ได้สกัดเยื่อใย (fiber) ออก ซึ่งได้จากการ

             นำาเนื้อมันสำาปะหลังมาอบแห้ง  มีปริมาณเส้นใยและโปรตีนสูงกว่าแป้งมันสำาปะหลัง  (cassava  starch)
             เป็นผลิตภัณฑ์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับมันสำาปะหลังของประเทศ เพื่อนำามาใช้ประกอบอาหารต่าง ๆ

             และสามารถนำามาใช้ทดแทนแป้งสาลีในผลิตภัณฑ์อาหารได้หลากหลายชนิด


                     เมื่อแรกเริ่ม  การผลิตฟลาวในประเทศไทยใช้มันสำาปะหลังชนิดหวานที่มีปริมาณไซยาไนด์ต่ำาเป็นวัตถุดิบ
             และเป็นการผลิตในระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก แต่เนื่องจากการปลูกมันสำาปะหลังชนิดหวานในประเทศไทย

             ยังไม่แพร่หลายนัก ส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูกเพื่อบริโภคในครัวเรือนและมีผลผลิตต่อไร่ต่ำา ทำาให้ต้นทุน
             วัตถุดิบมีราคาสูง หน่วยปฏิบัติการเทคโนโลยีแปรรูปมันสำาปะหลังและแป้ง จึงร่วมกับคณะนักวิจัย

             จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลิตฟลาวจากมันสำาปะหลังชนิดขมหรือพันธุ์โรงงาน ซึ่งมีการเพาะปลูกแพร่หลาย
             ปริมาณผลผลิตแต่ละปีมาก ต้นทุนวัตถุดิบต่ำา แทนการใช้มันสำาปะหลังชนิดหวานเป็นวัตถุดิบ


                     ซึ่งผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากมันสำาปะหลังที่ได้พัฒนาขึ้นในโครงการนี้ได้ผ่านการตรวจสอบปริมาณ
             ไซยาไนด์ในผลิตภัณฑ์แล้ว โดยปริมาณไซยาไนด์ที่พบในผลิตภัณฑ์น้อยกว่า 0.2 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

             น้ำาหนักแห้ง (ppm) ทั้งหมด ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Codex โดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
             และองค์การอนามัยโลกซึ่งกำาหนดให้ผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ มีปริมาณไซยาไนด์อยู่ในผลิตภัณฑ์ไม่เกิน

             10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำาหนักแห้ง (ppm)


                                                                     มันสำ�ปะหลังไทยกินได้�สร้างรายได้ให้เกษตรกร  13
                                                     โครงการแปรรูปมันสำาปะหลังและผลิตภัณฑ์สู่อุตสาหกรรมอาหารเพื่อยกระดับรายได้เกษตรกรชุมชน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19