Page 91 -
P. 91

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี








                     นักเรียนสามารถเขียนเล่าเรื่อง เขียนเรียงความ เขียนนิทานได้อย่างเป็นเรื่อง

               เป็นราว มีขนาดความยาวกว่าเดิม ๓ - ๕ หน้าต่อครั้ง ใช้ภาษาได้อย่างสละสลวย
               เป็นเพราะเกิดความซาบซึ้ง เข้าใจการสื่อสารถ่ายทอด “ไม่รู้ว่าเขียนไปได้อย่างไร                           ฉันรู้สึกเสมอว่าคนที่จะเป็นครูที่ดีก็ต้องรู้ให้มาก  ต้องรอบรู้  รู้เท่าทัน
               แปลกใจตัวเองเหมือนกัน”  คำกล่าวของนักเรียนเหล่านี้เป็นผลลัพธ์ที่ทำให้เห็น                        การเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะคน สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม

               ความเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนความคิด พัฒนาความสามารถสูงขึ้น                                            เมื่อรู้หรือรอบรู้ ความมั่นใจก็จะเกิดขึ้น การถ่ายทอด อบรมสั่งสอน แนะนำให้คำปรึกษา

                     เมื่อนักเรียนได้วิเคราะห์พระราชดำรัสของพระบรมราโชวาท แล้วนำไปแต่ง                          แก่นักเรียนก็จะบังเกิดผล นักเรียนก็มีความเชื่อมั่น มีศรัทธาในตัวครู จะเห็นว่าครูเด็กๆ
               การ์ตูนนิทาน “ทำไมพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดได้ลึกซึ้งขนาดนี้” นักเรียนเริ่มเข้าใจ แยกแยะ              หรือครูใหม่ๆ ครูฝึกสอน หรือนักศึกษาฝึกประสบการณ์เด็กๆ นักเรียนจะไม่ค่อยเชื่อมั่น

               เลือกนำไปปฏิบัติ                                                                                 เหตุผลนี้ก็น่าจะเป็นไปได้ ความรอบรู้ รู้จริง รู้แจ้ง จะทำให้เกิดศรัทธา ซึ่งเป็นด่านแรก

                     การเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษา  ความสามารถ  ทักษะการแสดงความเห็น                                 ของการเป็นศิษย์เป็นครู  คนเราเมื่อเกิดความศรัทธาแล้ว  อะไรๆ  ก็ดูง่ายไปหมด
               มีเหตุผล เป็นผลลัพธ์แห่งความสำเร็จที่เกิดจากวิเคราะห์แยกแยะ เชื่อมโยงการน้อมนำ                   เรียกว่าใจให้แล้ว ฉันได้รับความศรัทธาจากลูกศิษย์แทบทุกรุ่น เพราะฉันสร้างศรัทธา

               ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการเรียนรู้   
                                                     สร้างฉันทะให้ตัวเองก่อนเสมอ
                                                                                                                      เด็กวัยรุ่นชอบร้องรำทำเพลง  ฉันก็เคยนำเพลงมาเป็นสื่อให้เด็กได้ร้องเล่น

                                                                                                                เต้นรำ เขียนคิดวิเคราะห์ก็สนุกเท่านั้นเอง บางครั้งฉันก็พบเพชรที่ออกแรงเจียระไน
                                                                                                                อีกเล็กน้อยก็จะมีแสงแวววับ มีคุณค่า
                      กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                                                                                                      สื่อหรือเครื่องมือช่วยสอนของฉันหาง่าย จัดทำไม่ค่อยเสียเงินเสียทองเท่าไรนัก

                                                                                                                ไม่ซับซ้อน เพราะฉันคิดว่าสื่อที่ดี คือตัวช่วยที่ดีให้เด็กรู้เร็ว เข้าใจง่าย จำได้นาน
                                             ระเบิดจากใจ
                                              ใช้ศรัทธา                                                         ประหยัด มีประโยชน์ และประยุกต์ได้อย่างหลากหลาย



                  ทดลอง ตรวจสอบ                                         วิเคราะห์
                     พัฒนา                                              แจกแจง                                                                                                              ประมวลบทเรียน



                                             สรุปหลักการ                                                                 “คนเราเมื่อเกิดความศรัทธาแล้ว
                                               แนวคิด
                                                                                                                            อะไรๆ ก็ดูง่ายไปหมด”










               78                                                                                                                    ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 79ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 79ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 79ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 79
               78 เรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียงเรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียง
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96