Page 110 -
P. 110
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตั้งแต่ย้ายมาสอนที่โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา เมื่อปีการศึกษา ๒๕๒๒ ได้รับ
มอบหมายให้สอนคณิตศาสตร์ชั้น ม.๕ มาโดยตลอดจนปัจจุบัน เนื้อหาคณิตศาสตร์
ส่วนใหญ่ค่อนข้างเข้าใจยาก แต่ผู้เล่าได้ใช้สิ่งใกล้ตัวนักเรียน ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ “เพื่อให้เกิดการเข้าใจและเข้าถึง
สิ่งที่ภาคภูมิใจของนักเรียนมาสร้างเป็นใบความรู้บูรณาการเนื้อหาสาระ และเชื่อมโยง จึงใช้ข้อมูลใกล้ตัวนักเรียนมาเป็นแหล่งการเรียนรู้”
ไปสู่ความพอเพียงลงไปให้เขาได้เรียนรู้
กระบวนการจัดการความรู้มีประโยชน์จริงๆ อยากให้คุณครูได้นำไปใช้ ตัวอย่าง
เช่น ในชั่วโมงคณิตศาสตร์ เมื่อเข้าสอนจะให้นักเรียนออกมาเล่าถึงความภาคภูมิใจ
ของตนเองช่วงปิดเทอมว่าได้ทำความดีอะไรมาบ้าง แล้วสุ่มให้นักเรียนออกมาเล่า
นักเรียนบอกว่า เขาไม่มีโอกาสไปเที่ยว ไม่มีโอกาสไปสร้างความภาคภูมิใจที่นั่นที่นี่ เมื่อเด็กคนนี้ได้รับโอกาสแสดงความดี พฤติกรรมของเขาก็เปลี่ยนแปลงไป
แต่เขามีความภาคภูมิใจที่ได้ทำดี เขาบอกว่าการทำความดีของเขา คือการปฏิบัติธรรม จากเด็กเรียนอ่อน เวลาเรียนเขาจะอยู่หลังห้องและก้มหน้าไม่สบตาครู เทอมที่แล้ว
ซึ่งปฏิบัติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ จนบัดนี้ ผู้เล่าถามว่าจะรู้ได้อย่างไรว่าเธอปฏิบัติธรรมจริง ได้เกรด ๑ ในวิชาคณิตศาสตร์ แต่เมื่อเราได้ค้นพบเขา ให้เขาได้มีโอกาสแสดงออก
วันรุ่งขึ้นเขานำสมุดบันทึกมาให้ดู เขาปฏิบัติธรรมทุกวันที่มีโอกาส แล้วจดบันทึกทุกวัน ตอนนี้ขณะเรียนเขาจะชะเง้อยื่นคอมองครูสอนอย่างตั้งใจ บางครั้งก็เปลี่ยนมานั่ง
เล่มหนึ่งหมดไปแล้ว เล่มสองก็มา ข้างหน้า และมีการซักถามขณะเรียนมากขึ้น ทุกคนมีความดี คุณครูต้องเค้นความดี
สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดความคิดขึ้นว่า ทำไมจึงไม่นำสิ่งที่เด็กทำดีแบบนี้มาเป็น ที่มีอยู่ในตัวตนของผู้เรียนออกมาให้ได้
แบบอย่าง ทุกวันนี้ที่หน้าเสาธง ตอนเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ จะมีแต่ประกาศ ผู้เล่านำความดีตรงนี้ไปต่อยอดเป็นใบงาน “แบบบันทึกการทำความดี
ชื่อนักเรียนที่ไปสอบแข่งขันชนะเลิศการประกวดต่างๆ แต่ทำไมเราไม่เปิดโอกาสให้ ด้วยการถือศีล ๕” โดยให้นักเรียนบันทึกแต่ละวัน เขาทำผิดศีลข้อไหนบ้าง และสาเหตุ
ที่ต้องทำผิดศีลเพราะอะไร เมื่อบันทึกได้ครบ ๑ เดือน ให้ทุกคนนำแบบบันทึกความดี
เด็กที่ทำความดีได้มาเผยแพร่ตรงนี้บ้าง จึงนำบันทึกของนักเรียนไปเสนอท่านผู้บริหาร
ประมวลบทเรียน “ทิพวรรณ ยิ้มสวัสดิ์” ท่านฟังอย่างสงบ ดูสมุดบันทึกความดี จำชื่อเด็กไว้ พอวันรุ่งขึ้น มาเป็นสื่อในการเรียนรู้เรื่องความถี่สะสม โดยนำแบบบันทึกนั้นเป็นการสะสมบุญบารมี
วันไหนที่นักเรียนไม่ทำผิดศีลเลยใน ๕ ข้อ ครูจะให้ ๑๐ คะแนน ถ้าผิดข้อหนึ่งก็เหลือ
ท่านเรียกชื่อ นายกิตติพงษ์ ห้วยหงษ์ทอง นักเรียนชั้น ม.๕/๒ ให้ขึ้นมาหน้าเสาธง
แล้วให้กิตติพงษ์นำพี่ๆ เพื่อนๆ และน้องๆ นั่งสมาธิ นักเรียนทั้งโรงเรียนนั่งสมาธิ
สะสมโดยไม่รู้ตัว หลังจากนั้นเราก็มาสะท้อนพูดคุยกันถึงเรื่องการทำความดี
อย่างสงบ และนิ่งฟังกิตติพงษ์กล่าวสิ่งที่ดีงามต่างๆ ๘ คะแนน แล้วเรามาดูว่าสะสมบารมีกันได้กี่คะแนน นักเรียนก็ได้เรียนเรื่องความถี่
ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 97ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 97ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 97
96
96
96 เรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียงเรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียงเรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียง