Page 107 -
P. 107
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
ผลการประเมินความเสี่ยงของแหล่งธรมชาติประเภทภูเขาที่อยู่ในระดับสูงมีจ านวน 5 แห่ง คิดเป็น
ร้อยละ 7.35 อยู่ในระดับปานกลางมี จ านวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 10.29 และอยู่ในระดับต่ า จ านวน 56 แห่ง
คิดเป็นร้อยละ 82.36 ดังตารางที่ 5-4 ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ดอยหลวงเชียงดาวนั้นมีคุณค่าสูง แต่ก็มีความเสี่ยงสูง
เช่นกัน โดยความเสี่ยงหลักที่พบคือ มาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบจากมนุษย์ เช่น
การท่องเที่ยว ขยะ การหาของป่า และการเล ี้ยงสัตว์
ตารางที่ 5-5 แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่มีความเสี่ยงในระดับสูง
คะแนนความเสี่ยง
ที่ รหัส รายชื่อแหล่ง จังหวัด กิจกรรมมนุษย์ สภาพภูมิอากาศ ความเสี่ยงสูงสุด
แหล่ง ภูเขา
คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ
1 CM1 ดอยหลวง เชียงใหม่ 0.86 28.57 3.00 100.00 3.00 100.00
เชียงดาว
2 LI8 ภูหลวง เลย 0.86 28.57 3.00 100.00 3.00 100.00
3 CM3 ดอยปุย เชียงใหม่ 0.86 28.57 3.00 100.00 3.00 100.00
4 CM7 กิ่วแม่ปาน เชียงใหม่ 0.57 19.05 3.00 100.00 3.00 100.00
5 TK1 ดอยหัวหมด ตาก 0.71 23.81 3.00 100.00 3.00 100.00
5.4.2 การจัดล าดับความส าคัญของแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา
จากผลการประเมินคุณค่าสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ศักยภาพในการคงคุณค่าสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
และความเสี่ยงต่อการถูกท าลายของแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา จ านวน 68 แห่ง คณะผู้ศึกษาได้น ามาพิจารณา
เพื่อจัดกลุ่มตามเกณฑ์การพิจารณาและจัดล าดับความส าคัญของแหล่งธรรมชาติ ดังรายละเอียดวิธีการในบทที่ 4
พบว่า แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่จัดอยู่ในกลุ่ม 1 คือ มีค่าคะแนนคุณค่าความส าคัญสูงมากกว่าร้อยละ 50
และความเสี่ยงสูงมากกว่าร้อยละ 50 มีจ านวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 11.76 แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่จัด
อยู่ในกลุ่ม 2 คือมีค่าคะแนนคุณค่าความส าคัญสูงมากกว่าร้อยละ 50 แต่ความเสี่ยงน้อยคือน้อยกว่าร้อยละ 50
มีจ านวน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 8.82 แหล่งที่จัดอยู่ในกลุ่ม 3 คือ มีค่าคะแนนคุณค่าความส าคัญน้อยกว่าร้อยละ
50 และความเสี่ยงน้อยกว่าร้อยละ 50 มีจ านวน 50 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 73.54 และแหล่งที่จัดอยู่ในกลุ่ม 4 คือมี
ค่าคะแนนคุณค่าความส าคัญน้อยกว่าร้อยละ 50 แต่ความเสี่ยงสูงมากกว่าร้อยละ 50 มีจ านวน 4 แห่ง คิดเป็น
ร้อยละ 5.88 ดังแสดงผลในตารางที่ 5-6
จากนั้นน าแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา ในแต่ละกลุ่มมาจัดล าดับความส าคัญ โดยการน าร้อยละของค่า
คะแนนความส าคัญและร้อยละของค่าคะแนนความเสี่ยงมารวมกัน (ค่าคะแนนเต็ม 200) แล้วจึงน ามาจัดล าดับ
ในแต่ละกลุ่ม พบว่า ในกลุ่มที่ 1 แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่มีร้อยละของค่าคะแนนสูงสุด คือ ดอยหลวง
เชียงดาว มีค่าคะแนนเท่ากับ 125.09 รองลงมาได้แก่ เขาขนาบน้ า มีค่าคะแนนเท่ากับ 115.60 และภูหลวง
5-15