Page 106 -
P. 106
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
ตารางที่ 5-3 แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่มีคุณค่าในระดับสูง
คะแนนคุณค่า
ที่ รหัส รายชื่อแหล่งภูเขา จังหวัด คุณค่าการใช้
แหล่ง คุณค่าแหล่งภูเขา ประโยชน์ คุณค่ารวม
คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ
1 CM1 ดอยหลวงเชียงดาว เชียงใหม่ 3.00 100.00 2.00 66.67 2.69 89.81
2 CM2 ดอยผ้าห่มปก เชียงใหม่ 2.44 81.33 2.45 81.82 2.44 81.48
3 SR1 ระบบนิเวศ สุราษฏร์ธานี 2.44 81.33 1.73 57.58 2.22 76.19
เขาหินปูนเขาสก
4 LI8 ภูหลวง เลย 2.20 73.33 1.82 60.61 2.08 69.44
ผลการประเมินศักยภาพในการคงคุณค่าสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ อยู่ในระดับสูง จ านวน 3 แห่ง คิดเป็น
ร้อยละ 4.41 อยู่ในระดับปานกลาง จ านวน 21 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 30.88 และอยู่ในระดับต่ า จ านวน 44 แห่ง
คิดเป็นร้อยละ 64.71 โดยเขาขนาบน้ า มีค่าคะแนนเท่ากับ 2.71 (90.24%) รองลงมาได้แก่ ดอยหลวงเชียงดาว
มีค่าคะแนนสูงสุด เท่ากับ 2.56 (85.37%) และดอยปุย มีค่าคะแนนเท่ากับ 2.02 (67.48%) ดังตารางที่ 5-4
ทั้งนี้แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่มีค่าคะแนนศักยภาพสูง เนื่องจากเป็นแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่มีชุมชน
เข้ามามีส่วนร่วมในดูแลรักษา และยังมีหน่วยงานภายนอกเข้ามาให้การสนับสนุนในเรื่องการวิจัย
และการอนุรักษ์แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา
ตารางที่ 5-4 แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาที่มีศักยภาพในการคงคุณค่าในระดับสูง
ที่ รหัสแหล่ง รายชื่อภูเขา จังหวัด คะแนนศักยภาพ
คะแนน ร้อยละ
1 KB1 เขาขนาบน้ า กระบี่ 2.71 90.24
2 CM1 ดอยหลวงเชียงดาว เชียงใหม่ 2.56 85.37
3 CM3 ดอยปุย เชียงใหม่ 2.02 67.48
5-14