Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
            12                                                                                                                                              45

                ตัวอยางขาวพันธุแนะนํา                                                                3. ตองลดการใชสารเคมี

                กข49  เกิดจากการผสมพันธุ 3 ทางระหวางลูกผสมชั่วที่ 1 ของ                               การใชสารเคมีที่มากเกินความจําเปนนอกจากจะเสียคาใชจายที่สูง
            PSL00508-3-1-1-4 กับ IR66738-118-1-2 นําไปผสมกับ IR68544-29-2-                       แลว ยังสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยเปนการทําลายระบบนิเวศในนา
            1-3-1-2 ไดเปนขาวไมไวตอชวงแสง อายุเก็บเกี่ยว 102-107 วัน ลําตนมี               ขาว และยังกอใหเกิดปญหาการไดรับสารพิษเขาสูรางกายของชาวนาผูใช

            ความแข็งแรง จึงไมมีปญหาตนลมเมื่อเจอลมแรง ตานทานตอเพลี้ยกระโดด                  อีกทั้งยังสงผลใหมีสารพิษตกคางในผลผลิตทางการเกษตรอีกดวย การใช
            สีน้ําตาลชนิดใหม เหมาะสําหรับพื้นที่นาชลประทานเขตภาคเหนือตอนลาง                    สารเคมีตองใชเทาที่จําเปน และใชตามอัตราที่กําหนด นอกจากนี้การปรับ
            และภาคกลาง                                                                           กิจกรรมบางอยางจะชวยลดการใชสารเคมีลงเชน การเปลี่ยนจากระบบ
                กข53  เกิดจากการผสมเดี่ยวระหวางสายพันธุ PRE92039-3-1-2-1                       หวานเปนปลูกแบบหยอดหรือปกดํา หรือการจัดการน้ําในแปลงแบบเปยก

            กับสายพันธุ SPTLR82022-PRE-26-3-2-GM-6 ที่ศูนยวิจัยขาวแพร เปน                   สลับแหง จะทําใหการระบาดของโรคและแมลงลดลง
            ขาวไมไวตอชวงแสง มีอะมิโลสต่ํา คุณภาพการหุงตมและรับประทานออน
            นุมเปนที่นิยมของประชาชนที่บริโภคขาวเจาในภาคเหนือ ตานทานตอ                      2. ลดการลงทุน
            แมลงบั่วในเขตภาคเหนือตอนบน                                                                  โดยดําเนินกิจกรรมที่ชาวนาสามารถดําเนินการไดเองเพื่อประหยัด

                กข55  เกิดจากการผสมพันธุ 3 ทางระหวางพันธุ กข23 กับพันธุเล็บ                  การจางงานหรือการลงทุน เชน การเตรียมดิน การจัดการน้ํา การจัดการ
            นกปตตานี และเมื่อไดสายพันธุใหมแลว นํามาผสมกับขาวพันธุชัยนาท 1 ที่             วัชพืช หรือ การจัดการขาวปน นอกจากการปฏิบัติงานเองในแปลงนาแลว
            ศูนยวิจัยขาวพัทลุงเปนขาวไมไวตอชวงแสงเหมาะสําหรับพื้นที่นา                     ชาวนาจะไดรูจักสภาพแปลงนาและพัฒนาการของขาวในแปลง ซึ่งจะทําให
            ชลประทานภาคใตในเขตลุมน้ําปากพนังและลุมน้ําทะเลสาบสงขลา                            ชาวนาสามารถวางแผนการดําเนินงานหรือวางแผนการแกไขปญหาไดทัน

                กข18  เกิดจากการผสมพันธุระหวางพันธุ กข6 กับพันธุขาวหอมนิลที่                กับสถานการณที่เกิดขึ้น
            ตานทานโรคไหม โดยหนวยปฏิบัติการคนหาและใชประโยชนยีนขาว เปน                            ผลจากการดําเนินการนี้จะทําใหการวาจางดําเนินกิจกรรมตางๆ
            พันธุที่ตานทานตอโรคใบไหม ขาวพันธุนี้มีคุณภาพใกลเคียงกับพันธุ กข6             ในแปลงนาลดลง ชาวนาเจาของแปลงจะลงมือทํากิจกรรมในแปลงนามาก

            เหมาะสําหรับพื้นที่นาน้ําฝนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ                     ขึ้น การทําลงมือปฏิบัติในแปลงนามากขึ้น เปรียบเสมือนการตรวจแปลง
            ตอนบน                                                                                อยางสม่ําเสมอ ใสใจในแปลงนามากขึ้นยอมทําใหการดูแลหรือแกไขปญหา
                กขผ3 เปนขาวลูกผสมระบบ 3 สายพันธุ เกิดจากพันธุ IR79156A                       ไดทันเวลาและเหมาะสม ผลผลิตขาวเพิ่มขึ้นหรือมีความเสียหายนอยลง
            ผสมกับสายพันธุ JN 29-PTT 11-1-B12-5-5-1R ใหผลผลิตสูงถึง 1,415
            กก.ตอไร เหมาะสําหรับปลูกในพื้นที่นาเขตชลประทานภาคกลาง เปนขาว                     3. ลดพื้นที่ทํานา

            เจาลูกผสมไมไวตอชวงแสง                                                                   การลดพื้นที่การทํานาหรือการทํานาในพื้นที่ที่เหมาะสมกับ
                ขาวเหนียวลืมผัว เกิดจากการคัดพันธุบริสุทธิ์จากขาวพื้นเมืองของ                 ศักยภาพหรือประสิทธิภาพของเครื่องมือและแรงงานที่มีอยู เพื่อใหชาวนา
            ชาวมง อําเภอพบพระ จังหวัดตาก เปนขาวเหนียวที่มีเยื่อหุมเมล็ดขาว
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22